ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
ผลการค้นหาคำว่า “ ัฏ ” :-
พบในอรรถกถาเพื่ออธิบายเนื้อความในพระไตรปิฎก ดังนี้ :-
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหบดีวรรค
               กันทรกสูตร เรื่องประทานพระโอวาทแก่กันทรกปริพาชก
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=1&p=1&h=ัฏ#hl

               ตุวัฏฏกปฏิปทา
               บทว่า สุปติฏฺฐิตจิตฺตา มีจิตตั้งมั่นดีแล้ว คือเป็นผู้มีจิตตั้งมั่นด้วยดีในสติปัฏฐาน ๔.
               สติปัฏฐานกถาที่เหลือกล่าวไว้พิสดารแล้วในหนหลัง ส่วนในที่นี้ท่านกล่าวถึงสติปัฏฐานเจือกันทั้งโลกิยะและโลกุตตระ.
               บทว่า ยาว สุปญฺญตฺตา คือ สติปัฏฐาน ๔ พระองค์ทรงตั้งไว้ด้วยดีแล้ว คือทรงแสดงดีแล้ว.
               การไถ พืช แอก คันไถและผาลไถนานี้มิได้มีแก่ภิกษุสงฆ์ เพราะฉะนั้น ภิกษุสงฆ์จึงมุ่งต่อสติปัฏฐานตลอดกาล. ส่วนพวกข้าพระองค์ได้โอกาสตามกาลสมควรแล้วจึงทำมนสิการนี้.
               บทว่า มนุสฺสคหเน มนุษย์รกชัฏ คือ เพราะถือเอาความรกชัฏของอัธยาศัยแห่งมนุษย์ทั้งหลาย.
               พึงทราบว่าความที่ถือเอาแม้อัธยาศัยของมนุษย์เหล่านั้นด้วยความรกชัฏด้วยกิเลส. แม้ในอัธยาศัยเดนกากและอัธยาศัยโอ้อวดก็มีนัยนี้เหมือนกัน.
               คือพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบประโยชน์และมิใช่ประโยชน์ของมนุษย์ทั้งหลายด้วยดี เหมือนอย่างทรงทราบรกชัฏ เดนกากและความหลอกลวงของมนุษย์ฉะนั้น.
               ครั้งนายเปสสะบุตรควาญช้างแสดงความที่สัตว์ทั้งหลายเป็นสิ่งที่ตื้น บัดนี้ เมื่อจะแสดงความที่มนุษย์ทั้งหลายเป็นสิ่งที่รกชัฏจึงกราบทูลบทมีอาทิว่า อมฺหากํ ปน ภนฺเต.
               เปสสะนี้กราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคเจ้าย่อมทรงทราบประโยชน์และมิใช่ประโยชน์ของสัตว์ทั้งหลาย ในเมื่อมนุษย์รกชัฏเป็นไปอยู่อย่างนี้ ในเมื่อมนุษย์เดนกากเป็นไปอยู่อย่างนี้ ในเมื่อมนุษย์โอ้อวดเป็นไปอยู่อย่างนี้.
               ในบทว่า ปณฺฑิโต นี้ ไม่ควรกล่าวว่าเป็นบัณฑิตด้วยเหตุ ๔ ประการ. แต่ควรกล่าวว่าเป็นบัณฑิตเพราะทำกรรมในสติปัฏฐาน
               แต่ควรกล่าวว่าเป็นผู้มีปัญญามากเพราะประกอบด้วยปัญญากำหนดถือเอาสติปัฏฐาน.
               นัยว่า อุบาสกเลื่อมใสในพระสงฆ์ และนัยใหม่ยิ่งเกิดแก่อุบาสกนั้นเพื่อกำหนดถือเอาสติปัฏฐาน

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหบดีวรรค
               อัฏฐกนาครสูตร พระอานนท์แสดงธรรมโปรดทสมคฤหบดี ชาวเมืองอัฏฐกะ
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=18&p=1&h=ัฏ#hl

               ๒. อรรถกถาอัฏฐกนาครสูตร
               อัฏฐกนาครสูตรมีบทเริ่มต้นว่า
               บทว่า อฏฺฐกนาคโร แปลว่า ชาวอัฏฐกนคร.
               ทรงรู้ด้วยปัญญาอันให้สำเร็จประโยชน์ส่วนพระองค์ ทรงเห็นด้วยเทศนาปัญญาอันมีพระกรุณาเป็นปทัฏฐาน อันให้สำเร็จประโยชน์แก่ผู้อื่น.
               ท่านกล่าวสมถะและวิปัสสนาไว้ในมหามาลุงกโยวาทสูตรบ้าง มหาสติปัฏฐานสูตรบ้าง กายคตาสติสูตรบ้าง เหมือนในพระสูตรนี้.
               ในมหามาลุงกโยวาทสูตร พระองค์ตรัสหมายถึงธุระคือวิปัสสนาธุระ. ส่วนในมหาสติปัฏฐานสูตร พระองค์ตรัสหมายถึงธุระคือวิปัสสนาธุระอันเยี่ยม. ในกายคตาสติสูตร พระองค์ตรัสหมายถึงธุระคือสมถธุระอันเยี่ยม.
               จบอรรถกถาอัฏฐกนาครสูตรที่ ๒

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหบดีวรรค
               เสขปฏิปทาสูตร ว่าด้วยผู้มีเสขปฏิปทา
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=24&p=1&h=ัฏ#hl

               ทำลายกิเลส สางชัฏได้แล้ว ตัดเครื่องผูกพันแล้ว ไม่ติดข้องในสกุลหรือหมู่ ยืนแวดล้อมประดุจช้างใหญ่ที่มีผิวหนังคลุมด้วยหนังแก้วมณี.
               มรรคปัญญาทำทุกข์ในวัฏฏะให้สิ้นไปโดยชอบ คือ โดยเหตุ โดยนัย เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าเป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความสิ้นไปแห่งทุกข์โดยชอบ.
               แม้ในคำว่า สมฺมาทุกฺขกฺขยคามินิยา วิปัสสนาทำทุกข์ในวัฏฏะและทุกข์
               ในอัมพัฏฐสูตร พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อตรัสว่า
               ดูก่อนอัมพัฏฐะ ถึงเราก็กล่าวอย่างนี้ว่า

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหบดีวรรค
               โปตลิยสูตร เรื่องโปตลิยคฤหบดี
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=36&p=1&h=ัฏ#hl

               เช่นเดียวกับนิ้วมือห้านิ้ว กระแสน้ำนั้นในที่ๆ เลี้ยวขวาสระอโนดาต ไปสามเลี้ยวเรียกกันว่า อาวัฏฏคงคา ในที่ที่ไหลตรงไปหกสิบโยชน์ ทางหลังหิน เรียกกันว่ากรรณคงคา
               คำว่า เอตเทว โข ปน สํโยชนํ เอตํ นีวรณํ นี้ แม้จะไม่นับเนื่องเข้าในสังโยชน์ ๑๐ นิวรณ์ ๕ แต่ก็ตรัสด้วยอำนาจเทศนาว่า เป็นเครื่องปิดกั้น ๘ อย่าง เครื่องปิดกั้น ๘ อย่างนั้น ตรัสเรียกว่า สังโยชน์บ้าง นีวรณ์บ้าง ก็เพราะอรรถว่าเป็นเครื่องผูกไว้ และเพราะอรรถว่าปกปิดไว้ในวัฏฏะอย่างนี้.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหบดีวรรค
               ชีวกสูตร เรื่องหมอชีวกโกมารภัจจ์
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=56&p=1&h=ัฏ#hl

               ดำริว่าเราต้องไปเฝ้าอุปัฏฐากพระพุทธองค์ วันละ ๒-๓ ครั้ง พระเวฬุวันนี้ก็อยู่ไกลเกินไป สวนมะม่วงของเรายังใกล้กว่า อย่าเลย เราจะสร้างวิหารถวายพระผู้มีพระภาคเจ้า ในสวนมะม่วงของเรานี้แหละ

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหบดีวรรค
               อุปาลิวาทสูตร เรื่องทีฆตปัสสีนิครนถ์
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=62&p=1&h=ัฏ#hl

               จึงละหมู่ไปอาศัยนครชื่อกุมภปุระ ของพระเจ้าทัณฑกี แคว้นกาลิงคะ ต่อจากฝั่งแม่น้ำโคธาวารี เจริญความสงัดอยู่ในพระราชอุทยาน เสนาบดีของพระเจ้าทัณฑกีนั้นเป็นอุปัฏฐาก.
               เสนาบดี (ผู้อุปัฏฐาก) รู้เรื่องภายหลังเขาหมด ก็ครุ่นคิดว่า เขาว่าคนทั้งหลายทำร้ายพระผู้มีพระภาคเจ้าศาสดาของเราซึ่งเป็นเนื้อนาบุญ

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหบดีวรรค
               อุปาลิวาทสูตร เรื่องทีฆตปัสสีนิครนถ์
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=62&p=3&h=ัฏ#hl

               คำว่า สงฺกิเลโส คือ ความเศร้าหมองในสังสารวัฏของสัตว์ทั้งหลาย เพราะกามเหล่านั้น เหมือนที่ตรัสว่า ผู้เจริญ สัตว์ทั้งหลายย่อมเศร้าหมองหนอ.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหบดีวรรค
               กุกกุโรวาทสูตร เรื่องปุณณโกลิยบุตรและเสนิยะอเจละ
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=84&p=1&h=ัฏ#hl

               บทว่า อปฺปมตฺโต คือ ผู้ไม่ละสติในกัมมัฏฐาน.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหบดีวรรค
               อภัยราชกุมารสูตร เรื่องอภัยราชกุมาร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=91&p=1&h=ัฏ#hl

               ครั้งนั้น นิครนถ์คิดว่า พระสมณโคดมไม่อาจให้โทษในการถามหรือตอบปัญหานี้ได้ ปัญหานี้ชื่อ โอวัฏฏิกสาระ (คือปัญหาวนเวียน)

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหบดีวรรค
               อปัณณกสูตร เรื่องพราหมณ์และคฤหบดีชาวบ้านศาลา
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=103&p=1&h=ัฏ#hl

               สัตว์นี้เป็นผู้เฝ้าแผ่นดิน ชื่อว่าเป็นตอแห่งวัฏฏะ.
               เราจักทำจตุตถฌานให้เป็นปทัฏฐานแล้ว ทำอรูปาวจรฌานให้เกิด ถ้าอรูปพรหมทั้งหลายมีอยู่ เราจักบังเกิดในอรูปพรหมนั้น
               เราจักทำบริกรรมในกสิณ ยังจตุตถฌานให้เกิดแล้ว ทำจตุตถฌานนั้นให้เป็นปทัฏฐาน จักยังอรูปาวจรฌานให้เกิด
               บทว่า สราคาย สนฺติเก คือ ใกล้ความยินดีในวัฏฏะด้วยอำนาจความกำหนัด.
               เขาปฏิบัติอย่างนี้ด้วยเข้าใจว่า เราฟังเขาพูดว่า นิโรธมีก็มี ไม่มีก็มี เราไม่รู้เอง เราจักกระทำบริกรรมในกสิณ แล้วทำสมาบัติ ๘ ให้เกิด เจริญวิปัสสนามีสมาบัติเป็นปทัฏฐาน
               ๒. อัฏฐกนาครสูตร

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ภิกขุวรรค
               จูฬราหุโลวาทสูตร เรื่องพระราหุล
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=125&p=1&h=ัฏ#hl

               ๑. อรรถกถาอัมพลัฏฐิกราหุโลวาทสูตร๑-
               อัมพลัฏฐิกราหุโลวาทสูตร มีบทเริ่มต้นว่า เอวมฺเม สุตํ ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้.
               ในบทเหล่านั้น บทว่า อมฺพลฏฺฐิกายํ วิหรติ ท่านพระราหุลอยู่ ณ ปราสาทชื่อว่า อัมพลัฏฐิกา
               คือ เมื่อเขาสร้างย่อส่วนของเรือนตั้งไว้ท้ายพระเวฬุวันวิหาร เพื่อเป็นที่อยู่ของผู้ต้องการความสงัด พระราหุลเจริญปวิเวกอยู่ ณ ปราสาทอันมีชื่ออย่างนี้ว่า อัมพลัฏฐิกา.
               อนึ่ง พระองค์ตรัสราหุลสังยุต มหาราหุโลวาทสูตร จุลลราหุโลวาทสูตร รวมทั้งอัมพลัฏฐิกราหุโลวาทสูตรนี้เข้าด้วยกัน.
               ท่านตรัสจุลลราหุโลวาทสูตรในเมื่อพระราหุลเป็นภิกษุได้ครึ่งพรรษา. ท่านตรัสกุมารกปัญหา และอัมพลัฏฐิกราหุโลวาทสูตรนี้
               ท่านตรัสสามเณรปัญหา เพื่อละถ้อยคำอันไม่ควรตรัส ในอัมพลัฏฐิกราหุโลวาทสูตรนี้ เพื่อมิให้ทำสัมปชานมุสาวาท (พูดเท็จทั้งๆ ที่รู้อยู่).
               จบอรรถกถาอัมพลัฏฐิกราหุโลวาทสูตรที่ ๑

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ภิกขุวรรค
               มหาราหุโลวาทสูตร เรื่องพระราหุล
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=133&p=1&h=ัฏ#hl

               เพราะเหตุนั้นจักตกไปในสังสารวัฏอันไม่รู้เบื้องต้นที่สุด.เพราะ

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ภิกขุวรรค
               จูฬมาลุงโกยวาทสูตร เรื่องพระมาลุงกยบุตรดำริถึงมิจฉาทิฏฐิ ๑๐
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=147&p=1&h=ัฏ#hl

               ไม่เป็นไปเพื่อความหน่ายในวัฏฏะ เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อดับวัฏฏะ เพื่อสงบราคะเป็นต้น เพื่อรู้ยิ่งซึ่งธรรมที่ควรรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้มรรค ๔ หรือเพื่อทำให้แจ้งนิพพานอันเป็นอสังขตธรรม.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ภิกขุวรรค
               ภัททาลิสูตร คุณแห่งการฉันอาหารหนเดียว
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=160&p=1&h=ัฏ#hl

               แม้อยู่ในวัดเดียวกันก็ไม่พึงให้ตนประสบพระพักตร์พระศาสดา. ไม่ไปอุปัฏฐากพระผู้มีพระภาคเจ้า ไม่ไปยังที่แสดงธรรม ไม่ไปโรงตรึก ไม่ปฏิบัติเพียงภิกขาจารครั้งเดียว ไม่ยืนแม้ที่ประตูของตระกูลที่พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับนั่ง.
               เวลากวาดวัดแล้ว ได้เวลาสอนสามเณรเป็นต้นแล้ว. ได้เวลาอาบน้ำของเราแล้ว. ได้เวลาอุปัฏฐากพระเถระแล้ว. ได้เวลาล้างหน้าแล้ว.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ภิกขุวรรค
               ลฑุกิโกปมสูตร เรื่องพระอุทายี
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=175&p=1&h=ัฏ#hl

               ครั้นรู้ว่าอุปธินั้นเป็นมูลแห่งทุกข์ดังนี้แล้ว เป็นผู้ไม่มีอุปธิด้วยกิเลสูปธิ. อธิบายว่า ไม่มีรกชัฏ ไม่มีตัณหา.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ภิกขุวรรค
               นฬกปานสูตร เรื่องกุลบุตรผู้มีชื่อเสียงบวช
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=195&p=1&h=ัฏ#hl

               การที่ไฟดับในที่ทำสัจกิริยาในวัฏฏกชาดก ๑

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ภิกขุวรรค
               โคลิสสานิสูตร ว่าด้วยอรัญญิกธุดงค์
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=203&p=1&h=ัฏ#hl

               ได้ยินว่า อุปัฏฐากกล่าวกะพระเถระนั้นผู้นั่งอยู่ในตระกูลอุปัฏฐากว่า ท่านขอรับ ผมถวายจีวรแก่พระเถระรูปโน้นแล้ว. พระเถระกล่าวว่า โยมทำดีแล้วที่ถวายจีวรแก่พระเถระผู้ตรึกถึงจีวรนั้น.
               อุปัฏฐากกล่าวว่า ท่านขอรับผมจักถวายจีวรแก่ท่าน. พระเถระกล่าวว่า ดีแล้ว โยมจักถวายแก่พระเถระผู้ตรึกถึงจีวรนั้น. ภิกษุเห็นปานนี้แม้นี้ชื่อว่ามีอาจาระหยาบ.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ภิกขุวรรค
               กีฏาคิริสูตร คุณของการฉันอาหารน้อย
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=222&p=1&h=ัฏ#hl

               เพราะเหตุไร. เพราะการฉัน ๒ คราวเหล่านี้เป็นการสะสม หมกมุ่นในวัฏฏะ มิได้แล่นออกไปได้ดุจน้ำไหลลงแม่น้ำ

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ปริพพาชกวรรค
               มหาวัจฉโคตตสูตร เรื่องปริพาชกวัจฉโคตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=253&p=1&h=ัฏ#hl

               พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสสองสูตรก่อนแก่วัจฉปริพาชกนั้น. ตรัสอัพยาวัฏฏสังยุตในสังยุตตนิกายแก่วัจฉปริพาชกนั้น.
               เพราะแม้สมันตปัฏฐาน ๒๔ และมูลทั้งปวงก็ยังทรงย่อลงในอภิธรรมปิฏก ๗ คัมภีร์ ฉะนั้นพึงทราบว่า ทรงแสดงย่อด้วยอำนาจของมูลบ้าง ของกรรมบถบ้าง.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ปริพพาชกวรรค
               ทีฆนขสูตร เรื่องทีฆนขปริพาชก
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=269&p=1&h=ัฏ#hl

               ใกล้กิเลสเครื่องยินดีในวัฏฏะด้วยอำนาจราคะ คือใกล้กิเลสเครื่องผูกในวัฏฏะ ด้วยเครื่องผูกคือตัณหาและทิฏฐิ.
               พึงทราบความโดยนัยมีอาทิว่า ใกล้เครื่องความยินดีในวัฏฏะ.
               เพราะผู้มีวาทะว่าเที่ยงย่อมไม่รู้โลกนี้และโลกหน้าว่ามีอยู่. ย่อมรู้ผลแห่งกรรมดีกรรมชั่วว่ามีอยู่ จึงทำกุศล เมื่อทำอกุศลย่อมกลัว พอใจยินดีในวัฏฏะ.
               เมื่อทำอกุศลย่อมไม่กลัว ไม่ชอบใจไม่ยินดีวัฏฏะ อยู่เฉพาะหน้าพระพุทธเจ้าหรือสาวกของพระพุทธเจ้า

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ปริพพาชกวรรค
               มาคัณฑิยสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=276&p=1&h=ัฏ#hl

               บทว่า อิมินา จิตฺเตน ด้วยจิตดวงนี้ คือด้วยจิตอันตามไปในวัฏฏะ.
               บทว่า ตสฺส เม อุปาทานปจฺจยา เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพจึงมีแก่เรา. คือท่านกล่าวถึงปัจจยาการอันมีสนธิ ๑ และสังเขป ๒ ประกาศวัฏฏะให้แจ้ง.
               บทว่า อิเม โรคา คณฺฑา สลฺลา โรค ฝี ลูกศร คืออันนี้. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงถึงขันธ์ ๕. พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงแสดงถึงวิวัฏฏะ จึงตรัสว่า อุปาทานนิโรธา เพราะอุปาทานดับดังนี้.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ปริพพาชกวรรค
               สันทกสูตร เรื่องสันทกปริพาชก
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=293&p=1&h=ัฏ#hl

               จริงอยู่ การไปเพื่อดูวิหาร หรือว่าเพื่อดูสมุทรและภูเขา เพราะพิจารณาซึ่งสังสารวัฏอันมีเบื้องต้นและที่สุดอันบุคคลตามรู้ไม่ได้แล้ว ย่อมควร.
               หากพระสมณโคดมหรือสาวกของพระโคดม แม้อุปัฏฐากผู้เป็นคฤหัสถ์ของพระสมณโคดมนั้นพึงมาสู่ที่นี้ จักน่าละอายอย่างยิ่ง.
               ได้ยินว่า ปริพาชกทั้งหลาย เมื่อพระพุทธเจ้าหรือเมื่อสาวกของพระพุทธเจ้ามายังสำนักของตนๆ จึงยกตนขึ้นในสำนักของพวกอุปัฏฐากว่า
               พยายามจะรับเอาอุปัฏฐากแม้ของพระผู้มีพระภาคเจ้า.
               นัยว่า ปริพาชกเหล่านั้นเห็นพวกอุปัฏฐากของพระผู้มีพระภาคเจ้าจึงกล่าวอย่างนี้ว่า
               ลำดับนั้น ปริพาชกเมื่อจะแสดงว่า กถาไร้ประโยชน์ไม่มีสาระอาศัยวัฏฏะ ไม่สมควรจะกล่าวต่อหน้าท่าน

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ปริพพาชกวรรค
               มหาสกุลุทายิสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=314&p=1&h=ัฏ#hl

               ก็เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจำแนกอารมณ์ ๓๘ ได้ทรงกระทำท่าเป็นที่หยั่งลงสู่นิพพานไว้มาก ฉะนั้นควรกล่าวว่าเป็น ติตฺถกโร ผู้ทำท่า. ก็เพราะเหตุไรเจ้าลัทธิเหล่านั้นทั้งหมดจึงมาประชุมในที่นั้น. เพื่อรักษาอุปัฏฐากและเพื่อลาภสักการะ.
               ได้ยินว่า เจ้าลัทธิเหล่านั้นมีความวิตกว่า อุปัฏฐากของพวกเราพึงพากันถึงพระสมณโคดมว่าเป็นที่พึ่ง. พวกเราจักดูแลอุปัฏฐากเหล่านั้น. แม้อุปัฏฐากของพวกเราเห็นอุปัฏฐากของพระสมณโคดมทำสักการะ ก็จักทำสักการะแก่พวกเราบ้าง. เพราะฉะนั้นเจ้าลัทธิเหล่านั้นทั้งหมด จึงพากันไปประชุมในที่ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าประชุม.
               บทว่า น โข ปนาหํ อุทายิ ความว่า ดูก่อนอุทายี เราไม่หวังคำสอนในสาวกทั้งหลายนี้ว่า เมื่อการสนทนาครั้งยิ่งใหญ่กับอัมพัฏฐะ

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ปริพพาชกวรรค
               มหาสกุลุทายิสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=314&p=2&h=ัฏ#hl

               สมดังที่ท่านกล่าวไว้ว่า นามและรูป พึงเกิดขึ้นในสังสารวัฏอันมีเบื้องต้นและที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้ เว้นในภพ ๗ เพราะการดับแห่งอภิสังขารและวิญญาณด้วยโสดาปัตติมรรคญาณ นามและรูปเหล่านั้นย่อมดับไปในที่นั้น.
               บทว่า อภิญฺญาโวสานปารมิปฺปตฺตา บรรลุบารมีอันเป็นที่สุดแห่งอภิญญา คือสาวกทั้งหลายเจริญธรรมเหล่านั้นในสติปัฏฐานเป็นต้นในก่อนจากนี้ แล้วบรรลุพระอรหัต ชื่อว่าเป็นผู้บรรลุบารมีอันเป็นที่สุดแห่งอภิญญา.
               เหมือนอย่างว่าท่านทำ ๑๑ บรรพในอัฏฐกนาครสูตร ให้เป็นธรรมข้อเดียวด้วยสามารถเป็นคำถามฉันใด

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ราชวรรค
               รัฐปาลสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=423&p=1&h=ัฏ#hl

               อรรถกถารัฏฐปาลสูตร
               รัฏฐปาลสูตรเริ่มต้นว่า ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้ :-
               พึงทราบวินิจฉัยในรัฏฐปาลสูตรนั้น ดังต่อไปนี้ :-
               บทว่า อุเปติ คพฺภญฺจ ปรญฺจ โลกํ ความว่า เมื่อคนเหล่านั้นกระทำบาปอยู่ สัตว์ผู้ใดผู้หนึ่งต้องประสบสังสารวัฏสืบๆ ไป ย่อมเข้าถึงครรภ์และโลกอื่น.
               จบอรรถกถารัฏฐปาลสูตรที่ ๒

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ราชวรรค
               โพธิราชกุมารสูตร เรื่องโพธิราชกุมาร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=486&p=1&h=ัฏ#hl

               บทว่า อโห พุทฺโธ อโห ธมฺโม อโห ธมฺมสฺส สฺวากฺขาตตา ความว่า เพราะภิกษุให้อาจารย์บอกกัมมัฏฐานในเวลาเช้า ในตอนเย็นบรรลุอรหัตต์

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ราชวรรค
               อังคุลิมาลสูตร พระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดองคุลิมาลโจร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=521&p=1&h=ัฏ#hl

               อนึ่ง เมื่อพระเถระเรียนมูลกัมมัฏฐานด้วยตั้งใจว่า จักกระทำสมณธรรมแล้วไปนั่ง ณ ที่พักกลางคืนและที่พักกลางวัน
               จิตก็จะไม่ดำเนินไปเฉพาะพระกัมมัฏฐาน. ย่อมปรากฏเฉพาะแต่ที่ที่ท่านยืนที่ดงแล้วฆ่าพวกมนุษย์เท่านั้น.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ราชวรรค
               ธรรมเจติยสูตร ว่าด้วยธรรมเจดีย์
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=559&p=1&h=ัฏ#hl

               พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำธรรมีกถาให้ปฏิสังยุตด้วยสามัญลักษณะมีความไม่เที่ยงเป็นต้นว่า ดูก่อนนางมัลลิกา อย่าคิด (มาก) ไปเลย ธรรมดาในสังสารวัฏฏ์มีที่สุดและเบื้องต้นอันใครๆ ไปตามอยู่ รู้ไม่ได้แล้ว ย่อมเป็นไปเช่นนั้น แล้วเสด็จกลับ.
               บทว่า ปุพฺเพนาปรํ ได้แก่ เป็นอย่างอื่น คือแตกต่างจากก่อน. คือกระทำกสิณบริกรรมจนบังเกิดสมาบัติ ชื่อว่ารู้กว้างขวาง คือวิเศษกว่าก่อนในคำนั้น. กระทำสมาบัติให้เป็นปทัฏฐาน เจริญวิปัสสนา ถือเอาพระอรหัตต์ ชื่อว่ารู้กว้างขวาง คือวิเศษยิ่งกว่าแต่ก่อน.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พราหมณวรรค
               พรหมายุสูตร พรหมายุพราหมณ์ต้องการเฝ้าพระพุทธเจ้า
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=584&p=1&h=ัฏ#hl

               เป็นพระพุทธมารดา, เป็นพระพุทธบิดา, เป็นอัครอุปัฏฐาก, เป็นอัครอุปัฏฐายิกา, เป็นพระเจ้าจักรพรรดิด้วยลักษณะนี้.
               ท่านกล่าวอธิบายว่า เว้นจากวัฏฏะและเว้นจากเครื่องมุงบัง.
               ด้วยคำนั้น ย่อมเป็นอันกล่าวเหตุทั้ง ๒ แห่งบทในเบื้องต้นทั้ง ๒ อย่างนี้ว่า ชื่อว่าเป็นพระอรหันต์เพราะไม่มีวัฏฏะ
               รูปหอก ๑ รูปโคขวัญ ๑ รูปแว่นส่องพระพักตร์ ๑ รูปสังข์ทักษิณาวัฏฏ์ ๑ รูปดอกพุดซ้อน ๑ รูปเทริด ๑ รูปปลาทั้งคู่ ๑ รูปเก้าอี้ ๑ รูปปราสาท ๑

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พราหมณวรรค
               พรหมายุสูตร พรหมายุพราหมณ์ต้องการเฝ้าพระพุทธเจ้า
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=584&p=2&h=ัฏ#hl

               ก็พระอุณณาโลมนั้น เมื่อจับที่ปลายดึงมา จะมีประมาณเท่ากึ่งแขน. ปล่อยไปแล้ว จะขดกลมมีปลายสูงขึ้นอยู่ โดยเป็นทักษิณาวัฏ. ย่อมรุ่งเรืองด้วยศิริอันชื่นใจยิ่ง
               ความว่า เป็นผู้ประกอบด้วยวัตร คือความสงัด. การเรียนมูลกัมมัฏฐานแล้วนั่งคู้บัลลังก์ ในที่พักในเวลากลางวันของภิกษุผู้กระทำภัตกิจแล้ว

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พราหมณวรรค
               เสลสูตร ทรงโปรดเสลพราหมณ์
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=604&p=1&h=ัฏ#hl

               เรานั้นแหละเป็นพระราชาโดยธรรม ที่ยอดเยี่ยม หมุนล้อธรรมอันต่างด้วยสติปัฏฐานสี่เป็นต้น ที่ยอดเยี่ยมจริงๆ.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พราหมณวรรค
               จังกีสูตร เรื่องจังกีพราหมณ์
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=646&p=1&h=ัฏ#hl

               บทว่า เพลงขับ ความว่า อันพราหมณ์แต่เก่าก่อนสิบคน มีพราหมณ์อัฏฐกะเป็นต้นสวดแล้ว เนื่องด้วยความถึงพร้อมด้วยเสียง.
               คำว่า อัฏฐกะ เป็นต้นเป็นชื่อของท่านเหล่านั้น.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พราหมณวรรค
               วาเสฏฐสูตร ทรงโปรดวาเสฏฐมาณพ
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=704&p=1&h=ัฏ#hl

               ในกาลใดต้องการจะชำระชาติให้บริสุทธิ์ ในกาลนั้นก็ประชุมกันที่อุกกัฏฐคามเพื่อชำระชาติให้บริสุทธิ์ ในสำนักของท่านโปกขรสาติ.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พราหมณวรรค
               สคารวสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=734&p=1&h=ัฏ#hl

               อรรถกถามัชฌิมปัณณาสกสูตรในอัฏฐกถามัชฌิมนิกาย ชื่อปปัญจสูทนีจบ อรรถกถาประมวลพระสูตร ๕๐ สูตร ประดับด้วย ๕ วรรคจบ.

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เทวทหวรรค
               ปัญจัตตยสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=28&p=1&h=ัฏ#hl

               โทษ (วัฏฏ) ย่อมกลับในที่นี้ นามรูปย่อม

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เทวทหวรรค
               กินติสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=42&p=1&h=ัฏ#hl

               พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการมีว่าสติปัฏฐาน ๔ ดังนี้เป็นต้น ทั้งโลกิยะและโลกุตระทีเดียว.
               ในคำนี้ที่ว่า อตฺถโต เจว นานํ พฺยญฺชนโต จ นานํ ดังนี้ เมื่อกล่าวว่า กายสติปัฏฐาน เวทนาสติปัฏฐาน เป็นการต่างกันโดยอรรถ
               แต่เมื่อกล่าวว่า (กาย เวทนา) ในสติปัฏฐาน ดังนี้ ย่อมชื่อว่าต่างกันโดยพยัญชนะ.
               ในคำว่า อตฺถโต หิ โข สเมติ นี้ ท่านถือเอาว่าสตินั่นแล เป็นสติปัฏฐาน.
               บทว่า ต่างกันโดยพยัญชนะ ความว่า พยัญชนะอย่างเดียวเท่านั้น ลงไว้ผิดว่า สติปัฏฐาโน หรือ สติปัฏฐานา ดังนี้.
               ตอบว่า กล่าวแย้งกันเพราะสัญญาว่า เราย่อมกล่าวสตินั่นแหละว่าสติปัฏฐาน ท่านผู้นี้กล่าวว่า กายสติปัฏฐาน. แม้ในพยัญชนะก็มีนัยนี้เหมือนกัน.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เทวทหวรรค
               สามคามสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=51&p=1&h=ัฏ#hl

               ภิกษุณีสงฆ์ผู้รับโอวาทของภิกษุเหล่านั้น ก็วิวาทกัน. แต่นั้น อุปัฏฐากของภิกษุเหล่านั้นก็วิวาทกัน.
               โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ ซึ่งมาในหนหลังว่า สติปัฏฐาน ๔ เป็นต้นก็ชื่อว่าธรรมเหมือนกัน.
               สภาวธรรมนี้คือ สติปัฏฐาน ๓ สัมมัปปธาน ๓ อิทธิบาท ๓ อินทรีย์ ๖ พละ ๖ โพชฌงค์ ๘ และมรรคมีองค์ ๙ และสังกิลิฏฐธรรม มีอาทิว่า อุปาทาน ๔ นิวรณ์ ๕ ดังนี้ ชื่อว่าอธรรม.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เทวทหวรรค
               สุนักขัตตสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=67&p=1&h=ัฏ#hl

               เงื้อมไป ในกามคุณ ๕ อันเป็นเหยื่อล่อของวัฏฏะ เป็นเหยื่อล่อของกามและเป็นเหยื่อล่อของโลก.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เทวทหวรรค
               อาเนญชสัปปายสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=80&p=1&h=ัฏ#hl

               บทว่า โน จสฺส โน จ เม สิยา ความว่า ถ้ากรรมวัฏ ๕ อย่างในกาลก่อนจะไม่พึงประมวลเข้ามาแก่เราไซร้ วิปากวัฏ ๕ อย่างในปัจจุบันนี้ของเรานั้น ก็จะไม่พึงมี คือไม่พึงเป็นไปแก่เรา.
               บทว่า น เม ภวิสฺสติ ความว่า ถ้ากรรมฐาน ๕ อย่างในปัจจุบัน จักไม่ประมวลกันมาไซร้ เมื่อกรรมฐานนั้นไม่มี วิปากวัฏ ๕ อย่างจักไม่มีแก่เราในอนาคต.
               บทว่า น ปรินิพฺพายติ ความว่า ภิกษุผู้มีอาลัยในวิปัสสนา ย่อมไม่ปรินิพพานในศาสนาของเรา. ท่านแสดงว่า ก็ภิกษุใดมีอาลัยในวิหาร บริเวณและอุปัฏฐาก เป็นต้น ข้อที่จะพึงกล่าวในภิกษุนั้นย่อมไม่มี.
               บทว่า กตโม ปน ภนฺเต อริโย วิโมกฺโข ความว่า พระอานนท์ทูลถามอะไรในอธิการนี้. พระอานนท์ทูลถามว่า ภิกษุทำสมาบัติให้เป็นปทัฏฐานก่อน แล้วเจริญวิปัสสนาได้บรรลุพระอรหัตย่อมไม่ลำบาก เหมือนบุคคลอาศัยเรือหรือแพเป็นต้น ข้ามห้วงน้ำใหญ่ก็ไปถึงฝั่งได้ฉะนั้น ส่วนพระสุกขวิปัสสกผู้เจริญวิปัสสนาล้วนๆ พิจารณาปกิณณกสังขาร แล้วได้บรรลุพระอรหัต ย่อมลำบาก เหมือนบุคคลฟันฝ่ากระแสน้ำด้วยกำลังแขนไปถึงฝั่งฉะนั้น ข้าพระองค์ขอทูล พระอรหัตของพระสุกขวิปัสสกนี้ด้วยประการดังกล่าว.
               บทว่า เอส สกฺกาโย ยาวตา สกฺกาโย ความว่า ย่อมพิจารณาเห็นว่า ชื่อว่าสักกายะ กล่าวคือวัฏฏะอันเป็นไปในภูมิ ๓ มีอยู่ประมาณเท่าใด สักกายะแม้ทั้งหมดก็มีเท่านี้เท่านั้น สักกายะที่ยิ่งไปกว่านั้นย่อมไม่มี.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เทวทหวรรค
               มหาปุณณมสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=120&p=1&h=ัฏ#hl

               ก็วันที่เข้าอยู่ (จำศีล) นี้นั้น มี ๓ อย่าง โดยวันอัฏฐมี วันจาตุททสีและวันปัณณรสี เพราะฉะนั้น จึงตรัสว่า ปณฺณรเส (ในวันอุโบสถ ๑๕ ค่ำ) เพื่อจะห้ามบททั้งสองที่เหลือ
               บทว่า กถํ ปน ภนฺเต ความว่า ในที่นี้ (ภิกษุ) เมื่อถามวัฏฏะว่า มีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไร จึงกล่าวอย่างนั้น.
               บทว่า สกฺกายทิฏฺฐิ น โหติ ความว่า เมื่อจะถามวิวัฏฏะนี้ จึงกล่าวอย่างนั้น.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เทวทหวรรค
               จูฬปุณณมสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=130&p=1&h=ัฏ#hl

               ก็พระสูตรนี้ตรัสเนื่องด้วยวัฏฏะล้วนๆ แล.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ อนุปทวรรค
               อนุปทสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=153&p=1&h=ัฏ#hl

               ชื่อว่ามีปัญญามาก เพราะกำหนดถือเอาฐานะและอฐานะมาก สมาบัติเป็นเครื่องอยู่มาก อริยสัจมาก สติปัฏฐาน
               ในสมาบัติเครื่องอยู่ต่างๆ กว้าง ในอริยสัจต่างๆ กว้าง ในสติปัฏฐานต่างๆ กว้าง ในสัมมัปปธาน อิทธิบาท อินทรีย์ พละ โพชฌงค์ต่างๆ กว้าง
               ชื่อว่ามีปัญญาร่าเริง เพราะยังสติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อิทธิบาท อินทรีย์ พละ โพชฌงค์ อริยมรรค ให้เจริญ.
               เหมือนอย่างว่า บุรุษคิดว่าจักเอาลำไม้ไผ่ ครั้นเห็นไผ่มีชัฏ (เรียวหนาม) มาก

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ อนุปทวรรค
               พหุธาตุกสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=234&p=1&h=ัฏ#hl

               พาเอานักเลงโตที่เป็นเด็กขาดพ่อแม่อบรมเช่นกับตนจำนวนเล็กน้อย กล่าวว่า พวกท่านจงมา เราจักทำพวกท่านให้เป็นใหญ่ ดังนี้แล้วไปอาศัยชัฏเขาเป็นต้นอยู่ ปล้นบ้านตามชายแดน

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ อนุปทวรรค
               พหุธาตุกสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=234&p=2&h=ัฏ#hl

               ในพระอภิธรรมนั้น คัมภีร์ปัฏฐานจะอันตรธานก่อนกว่าทุกคัมภีร์. คัมภีร์ธรรมสังคหะอันตรธานหายไปภายหลัง โดยลำดับ.
               อนึ่ง ที่ไม่เสด็จอุบัติ (พร้อมกัน) เพราะพระธรรมเทศนาของพระองค์ ไม่มีแปลกกัน. ด้วยว่าพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งทรงแสดงธรรมใดต่างโดยสติปัฏฐานเป็นต้น
               ก็เพราะเหตุที่ในธรรมบรรยายนี้ เราตถาคตจำแนกปริวัฏ (การเวียนรอบ) ๔ ประการ เนื่องด้วยธาตุ อายตนะ ปฏิจจสมุปบาทและฐานาฐานะ
               เพราะฉะนั้น เธอจงทรงจำธรรมบรรยายนั้นว่า จตุปริวัฏฏสูตร ก็ได้.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ อนุปทวรรค
               มหาจัตตารีสกสูตร ว่าด้วยมรรคที่เป็นโลกิยะและโลกุตระ
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=252&p=1&h=ัฏ#hl

               ส่วนมรรคสัมมาทิฏฐิให้ถอนวัฏฏะอันเป็นเหตุให้ได้ภูมิ คือทำให้สงบระงับเกิดขึ้นในที่สุดของการกำหนดพิจารณา เหมือนเอาน้ำเย็นพันหม้อราดรดบนศีรษะฉะนั้น.
               สัตว์นี้ชื่อว่า เป็นหลักตอแห่งวัฏฏะ เฝ้าแผ่นดิน โดยมากสัตว์เห็นปานนี้ย่อมไม่มีการออกไปจากภพ แม้ชนพวกวัสสะและภัญญะก็ได้เป็นเช่นนี้.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ อนุปทวรรค
               อานาปานสติสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=282&p=1&h=ัฏ#hl

               ตอบว่า ไม่ใช่ไม่ถูก เพราะแม้ในการพรรณนาสติปัฏฐานก็กล่าวว่า เวทนาย่อมเสวย (อารมณ์) เพราะทำที่ตั้งแห่งเวทนามีสุขเป็นต้นนั้นๆ ให้เป็นอารมณ์.
               ก็ในที่นี้ สติกำหนดลมหายใจเข้าออกเป็นโลกิยะ. อานาปานสติอันเป็นโลกิยะ ย่อมทำสติปัฏฐานอันเป็นโลกิยะให้บริบูรณ์
               โลกิยสติปัฏฐานทำโลกุตรโพชฌงค์ให้บริบูรณ์ โลกุตรโพชฌงค์ทำวิชชา วิมุตติ ผลและนิพพานให้บริบูรณ์.
               ส่วนพระเถระกล่าวว่า ในสูตรอื่นเป็นอย่างนั้น แต่ในสูตรนี้ โลกุตระจะมาข้างหน้า (ต่อไป) โลกิยอานาปานะทำโลกิยสติปัฏฐานให้บริบูรณ์
               โลกิยสติปัฏฐานทำโลกิยโพชฌงค์ให้บริบูรณ์ โลกิยโพชฌงค์ทำวิชชา วิมุตติ ผล และนิพพานอันเป็นโลกุตระให้บริบูรณ์.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ อนุปทวรรค
               กายคตาสติสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=292&p=1&h=ัฏ#hl

               ตรัสกายานุปัสสนา ๑๔ อย่างในมหาสติปัฏฐาน มีคำว่า ปุน จ ปรํ ฯปฯ เอวํ โข ภิกฺขเว กายคตํ สตึ๑- ภาเวติ

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ อนุปทวรรค
               สังขารูปปัตติสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=318&p=1&h=ัฏ#hl

               เจริญวิปัสสนาอันมีสมาบัติเป็นปทัฏฐานแล้วทำให้แจ้งอนาคามิผล ย่อมเกิดในชั้นสุทธาวาส ๕. เจริญมรรคให้สูงขึ้น ย่อมถึงความสิ้นอาสวะแล.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค
               จูฬสุญญตสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=333&p=1&h=ัฏ#hl

               สำหรับปฐวีสัญญา ภิกษุนั้นกระทำปฐวีกสิณ บริกรรมให้เป็นกัมมัฏฐานประจำ ยังฌานให้เกิดเจริญวิปัสสนา ซึ่งมีฌานเป็นปทัฏฐาน สามารถจะบรรลุพระอรหัตได้ เพราะฉะนั้น เธอย่อมละอรัญญสัญญาใส่ใจปฐวีสัญญา.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค
               มหาสุญญตสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=343&p=1&h=ัฏ#hl

               ครั้งนั้น พระองค์ได้มีพระดำริดังนี้ว่า ขึ้นชื่อว่าการอยู่เป็นคณะนี้ ได้ประพฤติปฏิบัติกันมาในวัฏฏะแล้ว เหมือนน้ำที่ไหลลงสู่แม่น้ำ และการอยู่เป็นคณะก็ได้ประพฤติกันมาแล้วในนรก กำเนิดสัตว์เดียรัจฉาน ปิตติวิสัยและอสุรกายก็มี ในมนุษยโลก เทวโลกและพรหมโลกก็มี นรกหมื่นโยชน์แน่นไปด้วยสัตว์ทั้งหลาย เหมือนทะนานที่เต็มไปด้วยผงดีบุก
               แม้เมื่อเราปรินิพพานแล้วล่วงไปถึง ๕,๐๐๐ ปี กุลบุตรทั้งหลายย่อมระลึกถึงพระสูตรนี้ จักบรรเทาความเป็นหมู่ ยินดีในเอกีภาพ จักกระทำที่สุดแห่งวัฏฏทุกข์ได้.
               กุลบุตรทั้งหลายระลึกถึงพระสูตรนี้แล้ว บรรเทาความเป็นหมู่ยังทุกข์ในวัฏฏะให้สิ้นไป แล้วปรินิพพานนับไม่ถ้วน เหมือนยังมโนรถของพระผู้มีพระภาคเจ้าให้บริบูรณ์.
               ด้วยประการฉะนี้ ภิกษุจะยินดีด้วยการคลุกคลีก็ตาม ยินดีในคณะก็ตาม ยินดีในความหนาแน่นของหมู่ เกี่ยวเนื่องด้วยหมู่ ย่อมไม่งามโดยประการทั้งปวง. แต่ภิกษุปัดกวาดที่พักกลางวันในเวลาหลังภัตร แล้วล้างมือเท้าสะอาด รับมูลกัมมัฏฐาน ประกอบเนืองๆ ซึ่งความเป็นผู้มีอารมณ์เป็นหนึ่ง ย่อมงดงามในพระพุทธศาสนา.
               บทว่า สมฺปชาโน โหติ ความว่า รู้สึกตัว โดยรู้ว่ากัมมัฏฐานยังไม่สมบูรณ์.
               แต่นั้น ผู้ประสงค์จะเป็นอุภโตภาควิมุตติ ใส่ใจอเนญชาสมาบัติว่า ในอรูปสมาบัติเป็นอย่างไรหนอแล จิตย่อมไม่แล่นไป แม้ในอเนญชาสมาบัตินั้น. ภิกษุผู้ละเพียร ไม่พึงประพฤติตามหลังอุปัฏฐากเป็นต้น ด้วยคิดว่า บัดนี้จิตของเรายังไม่แล่นไป แต่พึงใส่ใจถึงฌานอันเป็นบาทให้สม่ำเสมอด้วยดีอย่างเดียว.
               เพื่อจะทรงแสดงว่า การใส่ใจพระกัมมัฏฐานย่อมแล่นไปสะดวก เหมือนบุรุษจะตัดไม้ เมื่อขวานวิ่น ต้องลับขวานเสียก่อนแล้วจึงค่อยตัด ขวานจึงจะคม ด้วยประการฉะนี้ จึงตรัสคำมีอาทิว่า ตสฺมิญฺเญว ดังนี้.
               บทว่า อิติ ตตฺถ สมฺปชาโน ความว่า แม้เมื่อกำลังเดินจงกรมอยู่ ก็รู้ชัดว่า เมื่อกัมมัฏฐานนั้นสมบูรณ์ กัมมัฏฐานของเราก็สมบูรณ์.
               บทว่า สมฺปชาโน ได้แก่ รู้ชัด โดยรู้ว่ากัมมัฏฐานยังไม่สมบูรณ์
               บทว่า เอวํ สมฺปชาโน ได้แก่ รู้ชัด โดยรู้ว่า กัมมัฏฐานสมบูรณ์.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค
               อัจฉริยัพภูตธัมมสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=357&p=1&h=ัฏ#hl

               กัมมวัฎที่เป็นกุศลและอกุศล ท่านเรียกว่า วัฏฏุมะ ในบทว่า ฉินฺนวฏฺฏุเม นี้.
               บทว่า สพฺพทุกฺขวีสติวฏฺเฏ ความว่า ล่วงทุกข์กล่าวคือวิปากวัฏทั้งปวง.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค
               อัจฉริยัพภูตธัมมสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=357&p=2&h=ัฏ#hl

               ก็น้ำอื่นที่จะพึงนำมาด้วยหม้อทอง หม้อเงินก็ดี น้ำที่อยู่ในสระโบกขรณี ชื่อหังสวัฏฏกะเป็นต้นก็ดี ย่อมไม่มีกำหนด.
               ข้อที่คนบ้าน้ำลาย กลับได้สติ เป็นบุพนิมิตแห่งการได้เฉพาะซึ่งสติปัฏฐาน ๔.
               ข้อที่ประตูหน้าต่างทั้งหลายเปิดได้เอง เป็นบุพนิมิตแห่งการเปิดประตูอัฏฐังคิกมรรค.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค
               ทันตภูมิสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=388&p=1&h=ัฏ#hl

               บทว่า ญายสฺส ได้แก่ อัฏฐังคิกมรรค.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค
               อนุรุทธสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=420&p=1&h=ัฏ#hl

               และทั้งฌานเหล่านั้น ก็ยังไม่เป็นบาทแห่งอภิญญาหรือนิโรธ ก็ฌานที่เป็นบาทแห่งวิปัสสนา ย่อมเป็นทั้งบาทแห่งวัฏฏะ และเป็นการก้าวลงสู่ภพ.
               ย่อมเป็นบาทแห่งนิโรธด้วย เป็นบาทแห่งวัฏฏะด้วย ทั้งก้าวลงสู่ภพได้ด้วย. ธรรมเหล่านี้ มีอรรถต่างกันอย่างนี้ และมีพยัญชนะต่างกันอย่างนี้ คือเป็นอัปปมาณาและเป็นมหัคคตะ.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค
               อุปักกิเลสสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=439&p=1&h=ัฏ#hl

               แต่นั้นเสด็จไปในปาจีนวังสมิคทายวัน ต่อนั้นเสด็จเข้าไปยังชัฏป่าชื่อว่าปาริเลยยกะ อันช้างตัวประเสริฐชื่อปาริเลยยกะบำรุงอยู่ ประทับอยู่ตลอดไตรมาส.
               บทว่า วาจาโคจรภาณิโน นี้ ท่านอาเทส ราอักษร ให้เป็น รอักษร ความก็ว่า พูดตามอารมณ์ ไม่มีสติปัฏฐานควบคุม ได้แก่พูดพล่อยๆ.
               บทว่า ปริตฺตญฺเจว โอภาสํ ได้แก่ แสงสว่างในพระกัมมัฏฐานนิดหน่อย.
               บทว่า ปริตฺตานิ จ รูปานิ ได้แก่ รูปในพระกัมมัฏฐานนิดหน่อย. บัณฑิตพึงทราบทุติยวาร โดยปริยายตรงกันข้าม.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค
               พาลบัณฑิตสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=467&p=1&h=ัฏ#hl

               บทว่า พาลํ เป็นต้น เป็นทุติยาวิภัตติ ใช้ในอรรถแห่งฉัฏฐีวิภัตติ.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค
               เทวทูตสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=504&p=1&h=ัฏ#hl

               ภิกษุกล่าวว่า ท่านผู้เจริญ อุทเทสจงยกไว้ ท่านจงบอกกัมมัฏฐานแก่กระผม ให้พระเถระบอกกัมมัฏฐานแล้ว เป็นพระโสดาบันอาศัยเรียนอุทเทส. ชนแม้เหล่าอื่นเว้นอุทเทสประเทศนี้บรรลุอรหัต ไม่มีจำนวน.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ วิภังควรรค
               มหากัมมวิภังคสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=598&p=1&h=ัฏ#hl

               บทว่า ตํ ทุกฺขสฺมึ ได้แก่ ทุกข์นั้นทั้งหมดเทียว. กล่าวว่า ถ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าพึงมีภาษิตไซร้ ดังนี้ หมายถึง วัฏฏทุกข์ กิเลสทุกข์และสังขารทุกข์นี้ ด้วยประการฉะนี้.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ วิภังควรรค
               สฬายตนวิภังคสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=617&p=1&h=ัฏ#hl

               บทว่า สตฺตปทา ได้แก่ ทางดำเนินของสัตว์ทั้งหลาย ที่อาศัยวัฏฎะและวิวัฏฏะ.
               ก็ในที่นี้ ทางดำเนินสู่วัฏฏะมี ๑๘ ประการ ทางดำเนินสู่วิวัฏฏะมี ๑๘ ประการ. ทางดำเนินแม้เหล่านั้น พึงทราบด้วยมรรคอันมีวิปัสสนานั้นแล.
               บทว่า ยทริโย ความว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้เป็นอริยเจ้าย่อมทรงเสพสติปัฏฐานเหล่าใด. ทรงตั้งพระสติในฐานะ ๓ อย่างนั้น พึงทราบว่า ทรงเสพสติปัฏฐาน.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ วิภังควรรค
               ธาตุวิภังคสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=673&p=1&h=ัฏ#hl

               พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว ฯลฯ อันวิญญูชนทั้งหลายพึงรู้เฉพาะตน ดังนี้แล้ว ทรงลิขิตโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ โดยเอกเทศว่า สติปัฏฐานสี่ ฯลฯ มรรคมีองค์แปดอันประเสริฐ ชื่อว่าพระธรรมอันพระศาสดาทรงแสดงแล้ว เห็นปานนี้และเห็นปานนี้ ดังนี้
               ลำดับนั้น ทรงอ่านอานาปานสติกัมมัฏฐาน ในลำดับสุดท้าย ทรงยังฌานหมวดสี่และหมวดห้าให้เกิดขึ้น. พระองค์ทรงยังเวลาให้ล่วงไป ด้วยความสุขในฌานนั้นและ. ใครอื่นย่อมไม่ได้เพื่อเห็น. มหาดเล็กประจำพระองค์คนเดียวเท่านั้น ย่อมเข้าไปได้. ทรงยังเวลาประมาณกึ่งเดือนให้ผ่านไปด้วยประการฉะนี้.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ วิภังควรรค
               ธาตุวิภังคสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=673&p=2&h=ัฏ#hl

               แต่บุพภาคปฏิปทานั้นของผู้ใดบริสุทธิ์ พระผู้มีพระภาคเจ้าจะไม่ตรัสบุพภาคปฏิปทานั้น แต่จักตรัสบอกวิปัสสนานั้นแล ซึ่งเป็นปทัฏฐานแห่งพระอรหัตแก่ผู้นั้น. ก็บุพภาคปฏิปทาของกุลบุตรบริสุทธิ์แล้ว.
               แม้สามเณรศีลของกุลบุตรนั้นก็บริบูรณ์ เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงไม่ตรัสบุพภาคปฏิปทา แต่ทรงปรารภเพื่อจะตรัสบอกวิปัสสนาลักษณะอันมีความว่างเปล่าอย่างยิ่ง ซึ่งเป็นปทัฏฐานแห่งพระอรหัตเท่านั้นแก่กุลบุตรนั้น.
               ส่วนบุคคลใดบวชในศาสนาแล้วตั้งอยู่ในศีล เล่าเรียนพระพุทธพจน์ สมาทานธุดงค์อันเป็นที่สบาย ถือกัมมัฏฐานอันชอบจิต อาศัยเสนาสนะอันสงัด กระทำกสิณบริกรรม ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น เจริญวิปัสสนาว่า ในวันนี้แล พระอรหัตดังนี้ เที่ยวไป บุคคลนี้ชื่อว่าไม่ประมาทปัญญา.
               แต่ในสูตรนี้ ได้ตรัสถึงความไม่ประมาทปัญญานั้นด้วยอำนาจแห่งธาตุกัมมัฏฐาน. ส่วนคำใดพึงกล่าวในธาตุกัมมัฏฐานนั้น คำนั้นได้กล่าวไว้แล้วในสูตรทั้งหลายมีหัตถิปโทปมสูตรเป็นต้นในหนก่อนนั้นแล. ในสูตรนี้มีอนุสนธิ โดยเฉพาะว่า ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีก คือวิญญาณดังนี้. เพราะได้ตรัสรูปกัมมัฏฐานในหนก่อนแล้ว.
               บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าเพื่อจะทรงเปลี่ยนแสดงอรูปกัมมัฏฐาน ด้วยอำนาจเวทนา จึงทรงปรารภเทศนานี้.
               ก็หรืออรูปกัมมัฏฐานนี้ใดอันเป็นวิญญาณ ผู้กระทำกรรมด้วยอำนาจวิปัสสนาที่ภิกษุนี้พึงถึงในธาตุทั้งหลายมีปฐวีธาตุเป็นต้น พระผู้มีพระภาคเจ้าแม้เมื่อจะทรงจำแนกแสดงอรูปกัมมัฏฐานนั้นด้วยอำนาจวิญญาณธาตุ จึงทรงปรารภเทศนานี้.
               ก็เวทนากถานั้นได้ตรัสไว้แล้วในสติปัฏฐานนั้นเทียว เพราะฉะนั้น
               พึงทราบโดยนัยที่กล่าวแล้วในสติปัฏฐานนั้นแล.
               กุลบุตรนี้เมื่อมนสิการซึ่งกัมมัฏฐานที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสให้แล้ว ชื่อว่าได้กระทำให้คล่องแคล่วฉันนั้นเหมือนกัน เพราะฉะนั้น รูปกัมมัฏฐานก็ดี อรูปกัมมัฏฐานก็ดี ได้เกิดคล่องแคล่ว ด้วยประการเท่านี้.
               บทว่า สงฺขิตฺเตน ความว่า ก็พระธรรมเทศนาแม้ทั้งหมดของพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็ย่อแล้วเทียว. ชื่อว่าเทศนาโดยพิสดารไม่มี. แม้สมันตปัฏฐานกถาก็ย่อแล้วนั้นแล. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยังเทศนาให้ถึงตามอนุสนธิด้วยประการฉะนี้.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ วิภังควรรค
               สัจจวิภังคสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=698&p=1&h=ัฏ#hl

               ด้วยการสงเคราะห์ ๒ อย่าง ปฏิบัติบรรพชิตผู้ไข้ ชักชวนในกัมมัฏฐาน รู้ความเป็นพระโสดาบันแล้ว
               ชักชวนในกัมมัฏฐาน ย่อมไม่ถึงความเป็นผู้ไม่สนใจในบรรพชิตทั้งหลาย แม้บรรลุแล้วซึ่งผล ๓ ในเบื้องต่ำ.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ วิภังควรรค
               ทักขิณาวิภังคสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=706&p=1&h=ัฏ#hl

               บทว่า ปุถุชฺชนทุสฺสีเล ความว่าบุคคลทั้งหลายมีนายเกวัฏฏะ และผู้จับปลาเป็นต้น ชื่อว่าปุถุชนผู้ทุศีล. เลี้ยงชีวิต ด้วยการเบียดเบียนสัตว์อื่น.
               พึงแสดงนายเกวัฏฏะผู้อาศัยอยู่ที่ประตูปากน้ำกัลยาณนทีในคำนี้ว่า ทักขิณาบางอย่างบริสุทธิ์ฝ่ายปฏิคาหก.
               ได้ยินว่า เกวัฏฏะนั้นได้ถวายบิณฑบาตแก่พระทีฆโสมเถระถึง ๓ ครั้ง นอนบนเตียงเป็นที่ตายได้กล่าวว่า บิณฑบาตที่ถวายแก่พระผู้เป็นเจ้าทีฆโสมเถระย่อมยกข้าพเจ้าขึ้น.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สฬายตนวรรค
               ฉันโนวาทสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=741&p=1&h=ัฏ#hl

               คำว่า นี่แลเป็นที่สุดของทุกข์ คือ นี้เท่านั้นเป็นที่สุดของวัฏทุกข์และกิเลสทุกข์ นี้เป็นกำหนดโดยรอบ เป็นทางโดยรอบ. เพราะนี้เท่านั้นเป็นความประสงค์ในข้อนี้.
               พระเถระย่อมทูลถามว่า พระเจ้าข้า เมื่อยังมีพวกอุปัฏฐากและพวกอุปัฏฐายิกาอยู่อย่างนี้ ภิกษุนั้นจะปรินิพพานในพระศาสนาของพระองค์หรือ.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สฬายตนวรรค
               ปุณโณวาทสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=754&p=1&h=ัฏ#hl

               ด้วยประการฉะนี้ ก็เป็นอันทรงทำให้วัฏฏะถึงที่สุดด้วยอำนาจแห่งสัจจะทั้ง ๒ คือ ทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ในทวารทั้ง ๖ แล้วจึงทรงแสดง.
               ในนัยที่ ๒ ทรงทำวิวัฏฏะให้ถึงที่สุดด้วยอำนาจสัจจะ ๒ ข้อคือ นิโรธ มรรค แล้วจึงทรงแสดง. อนุสนธิที่แยกไว้โดยเฉพาะคือคำว่า และด้วยอาการอย่างนี้ ปุณณะเธอ.
               ครั้นทรงใส่เทศนาด้วยอำนาจวัฏฏะและวิวัฏฏะในพระอรหัตอย่างนี้ก่อนแล้ว บัดนี้ เพื่อจะทรงให้ท่านปุณณเถระเปล่งสีหนาทในฐานทั้ง ๗ จึงได้ตรัสคำว่า และด้วยอาการอย่างนี้ เธอ ดังนี้เป็นต้น.
               ได้มอบหมายทุกสิ่งทุกอย่างว่า จงให้สมบัตินี้แก่น้องชายฉัน แล้วก็บวชในสำนักพระศาสดา ตั้งหน้าตั้งตาทำกัมมัฏฐาน.
               ครั้งนั้น เมื่อท่านเอาใจใส่ทำกัมมัฏฐานอยู่ กัมมัฏฐานก็ไม่ปรากฏ. ต่อมาท่านจึงคิดว่า ชนบทนี้ไม่สะดวกแก่เรา อย่างไรเสีย เราต้องรับกัมมัฏฐานในสำนักพระศาสดาแล้วไปสู่ถิ่นเดิมของเรา
               จึงเมื่อท่านเที่ยวบิณฑบาตในตอนเช้าแล้ว ออกจากการหลีกเร้นในตอนบ่ายแล้ว ก็เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ขอให้ทรงบอกกัมมัฏฐาน ได้เปล่งสีหนาท ๗ อย่างแล้วจึงหลีกไป. เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ครั้งนั้นแล ท่านพระปุณณะ ฯลฯ อยู่ ดังนี้.
               ก็ท่านปุณณะนี้อยู่ที่ไหน. ท่านอยู่ในที่ ๔ แห่ง. ตอนแรกท่านเข้าสู่แคว้นสุนาปรันตะแล้วเข้าไปสู่อัมพหัฏฐบรรพต เข้าสู่หมู่บ้านพ่อค้าเพื่อบิณฑบาต.
               พระเถระคิดว่า จงเป็นที่อยู่สำราญสำหรับผู้เอาใจใส่ทำกัมมัฏฐานเถิด แล้วก็อธิษฐานทำให้ทะเลสงบเสียง.

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สฬายตนวรรค
               จูฬราหุโลวาทสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=795&p=1&h=ัฏ#hl

               ค. พิจารณาหลักการตั้งสติ (สติปัฏฐาน).

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สฬายตนวรรค
               ฉฉักกสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=810&p=1&h=ัฏ#hl

               มหาสติปัฏฐานสูตรด้วย ๗ บท
               จริงอยู่ เพื่อทรงแสดงวัฏฏะด้วยอำนาจความถือมั่น ๓ อย่าง พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงเริ่มเทศนานี้. บางท่านว่า เพื่อทรงแสดงวัฏฏะด้วยสัจจะ ๒ ข้อ คือ ทุกข์ สมุทัย ดังนี้ก็มีเหมือนกัน.
               ครั้นทรงแสดงวัฏฏะอย่างนี้แล้ว คราวนี้เพื่อจะทรงแสดงวิวัฏฏะด้วยอำนาจปฏิปักษ์ต่อความถือมั่นทั้ง ๓ อย่าง หรือเพื่อทรงแสดงวิวัฏฏะด้วยอำนาจสัจจะ ๒ ข้อ คือ นิโรธ มรรคเหล่านี้ จึงตรัสว่า อยํ โข ปน ดังนี้ เป็นต้น.
               ครั้นทรงแสดงวิวัฏฏะอย่างนี้แล้ว คราวนี้เพื่อจะทรงแสดงวัฏฏะด้วยอำนาจอนุสัยทั้งสามอย่างอีก จึงตรัสคำเป็นต้นว่า จกฺขุญฺจ ภิกฺขเว.
               คำว่า นอนเนื่อง คือ ยังละไม่ได้. คำว่า แห่งทุกข์ ได้แก่ แห่งวัฏฏทุกข์และกิเลสทุกข์.
               ครั้นทรงแสดงวัฏฏะด้วยอำนาจอนุสัยสามอย่างอย่างนี้แล้ว คราวนี้เมื่อจะทรงแสดงวิวัฏฏะด้วยอำนาจเป็นนัยที่ตรงกันข้ามแห่งอนุสัยทั้งสามอย่างนั้น จึงตรัสคำเป็นต้นว่า จกฺขุญฺจ อีกครั้งหนึ่ง.
               คำว่า ละอวิชชา คือ ละความไม่รู้อันเป็นรากเหง้าของวัฏฏะได้แล้ว.
               คำว่า นั่นย่อมเป็นฐานะที่มีได้ คือ ด้วยกถามรรคเพียงเท่านี้แหละ พระองค์ก็ทรงเทศนาด้วยอำนาจวัฏฏะและวิวัฏฏะให้ถึงยอดได้แล้ว

0 วิ.

บันทึก ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]