ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๙ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๑ [ฉบับมหาจุฬาฯ] สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค [๑๑. โสตาปัตติสังยุต]

๗. มหาปัญญวรรค ๓. วิปุลปัญญาสูตร

๗. มหาปัญญวรรค
หมวดว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อความมีปัญญามาก
๑. มหาปัญญาสูตร
ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อความมีปัญญามาก
[๑๐๕๘] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๔ ประการนี้ ที่บุคคลเจริญ ทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญามาก ธรรม ๔ ประการ อะไรบ้าง คือ ๑. สัปปุริสสังเสวะ ๒. สัทธัมมัสสวนะ ๓. โยนิโสมนสิการ ๔. ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๔ ประการนี้ที่บุคคลเจริญ ทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญามาก”
มหาปัญญาสูตรที่ ๑ จบ
๒. ปุถุปัญญาสูตร
ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อความมีปัญญาแน่น
[๑๐๕๙] ... ย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญาแน่น”
ปุถุปัญญาสูตรที่ ๒ จบ
๓. วิปุลปัญญาสูตร
ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อความมีปัญญาไพบูลย์
[๑๐๖๐] ... ย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญาไพบูลย์”
วิปุลปัญญาสูตรที่ ๓ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑๙ หน้า : ๕๗๙}

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค [๑๑. โสตาปัตติสังยุต]

๗. มหาปัญญวรรค ๘. สีฆปัญญาสูตร

๔. คัมภีรปัญญาสูตร
ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อความมีปัญญาลึกซึ้ง
[๑๐๖๑] ... ย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญาลึกซึ้ง”
คัมภีรปัญญาสูตรที่ ๔ จบ
๕. อัปปมัตตปัญญาสูตร
ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อความมีปัญญาหาประมาณมิได้
[๑๐๖๒] ... ย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญาหาประมาณมิได้”
อัปปมัตตปัญญาสูตรที่ ๕ จบ
๖. ภูริปัญญาสูตร
ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อความมีปัญญาดุจแผ่นดิน
[๑๐๖๓] ... ย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญาดุจแผ่นดิน”
ภูริปัญญาสูตรที่ ๖ จบ
๗. ปัญญาพาหุลสูตร
ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อความมีปัญญาหลากหลาย
[๑๐๖๔] ... ย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญาหลากหลาย”
ปัญญาพาหุลสูตรที่ ๗ จบ
๘. สีฆปัญญาสูตร
ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อความมีปัญญาเร็ว
[๑๐๖๕] ... ย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญาเร็ว”
สีฆปัญญาสูตรที่ ๘ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑๙ หน้า : ๕๘๐}

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค [๑๑. โสตาปัตติสังยุต]

๗. มหาปัญญวรรค ๑๓. นิพเพธิกปัญญาสูตร

๙. ลหุปัญญาสูตร
ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อความมีปัญญาฉับพลัน
[๑๐๖๖] ... ย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญาฉับพลัน”
ลหุปัญญาสูตรที่ ๙ จบ
๑๐. หาสปัญญาสูตร
ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อความมีปัญญาร่าเริง
[๑๐๖๗] ... ย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญาร่าเริง”
หาสปัญญาสูตรที่ ๑๐ จบ
๑๑. ชวนปัญญาสูตร
ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อความมีปัญญาแล่นไป
[๑๐๖๘] ... ย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญาแล่นไป”
ชวนปัญญาสูตรที่ ๑๑ จบ
๑๒. ติกขปัญญาสูตร
ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อความมีปัญญากล้า
[๑๐๖๙] ... ย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญากล้า”
ติกขปัญญาสูตรที่ ๑๒ จบ
๑๓. นิพเพธิกปัญญาสูตร
ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อความมีปัญญาชำแรกกิเลส
[๑๐๗๐] “ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๔ ประการนี้ที่บุคคลเจริญ ทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญาชำแรกกิเลส {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑๙ หน้า : ๕๘๑}

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค [๑๑. โสตาปัตติสังยุต]

๗. มหาปัญญวรรค รวมพระสูตรที่มีในวรรค

ธรรม ๔ ประการ อะไรบ้าง คือ ๑. สัปปุริสสังเสวะ ๒. สัทธัมมัสสวนะ ๓. โยนิโสมนสิการ ๔. ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๔ ประการนี้ที่บุคคลเจริญ ทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญาชำแรกกิเลส”
นิพเพธิกปัญญาสูตรที่ ๑๓ จบ
มหาปัญญวรรคที่ ๗ จบ
รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ
๑. มหาปัญญาสูตร ๒. ปุถุปัญญาสูตร ๓. วิปุลปัญญาสูตร ๔. คัมภีรปัญญาสูตร ๕. อัปปมัตตปัญญาสูตร ๖. ภูริปัญญาสูตร ๗. ปัญญาพาหุลสูตร ๘. สีฆปัญญาสูตร ๙. ลหุปัญญาสูตร ๑๐. หาสปัญญาสูตร ๑๑. ชวนปัญญาสูตร ๑๒. ติกขปัญญาสูตร ๑๓. นิพเพธิกปัญญาสูตร
โสตาปัตติสังยุตที่ ๑๑ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑๙ หน้า : ๕๘๒}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๑๙ หน้าที่ ๕๗๙-๕๘๒. http://84000.org/tipitaka/pitaka2/m_siri.php?B=19&siri=380              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=19&A=9835&Z=9903                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=19&i=1641              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=19&item=1641&items=13              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=13&A=8152              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=19&item=1641&items=13              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=13&A=8152                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๙ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu19              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/sn55.62/en/sujato https://suttacentral.net/sn55.63/en/sujato https://suttacentral.net/sn55.64/en/sujato https://suttacentral.net/sn55.65/en/sujato https://suttacentral.net/sn55.66/en/sujato https://suttacentral.net/sn55.67/en/sujato https://suttacentral.net/sn55.68/en/sujato https://suttacentral.net/sn55.69/en/sujato https://suttacentral.net/sn55.70/en/sujato https://suttacentral.net/sn55.71/en/sujato https://suttacentral.net/sn55.72/en/sujato https://suttacentral.net/sn55.73/en/sujato https://suttacentral.net/sn55.74/en/sujato



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :