ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร

๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๐๐] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ระคนกับจิตและมีจิต เป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่ม บทที่เป็นมูล) เหตุที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่จิตและจิตต- สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่ระคน กับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๓๐๑] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภ ขันธ์ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน ขันธ์ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานจึง เกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน จิตจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็น สมุฏฐาน จิตและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจาก มรรคแล้ว พิจารณามรรค ฯลฯ พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ (ย่อ พึงเพิ่มให้เหมือนกับอารัมมณปัจจัยในจิตตสหภูทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน มี ๙ วาระ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๖๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อธิปติปัจจัย
[๓๐๒] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มอธิปติปัจจัยเป็น ๒ วาระ) (๓) สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มอธิปติปัจจัยเป็น ๒ วาระ) (๓) สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ (พึงเพิ่มอธิปติปัจจัยอย่างเดียวเท่านั้น มี ๙ วาระ พึงเพิ่มเหมือนจิตตสหภูทุกะไม่มีข้อแตกต่างกัน)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๐๓] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอนันตรปัจจัย (มี ๙ วาระ เหมือนกับ จิตตสหภูทุกะ) เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยสหชาต- ปัจจัย มี ๙ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ (เหมือนกับปัจจยวาร) เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย (มี ๙ วาระ เหมือนกับ จิตตสหภูทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
ปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๐๔] สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ และวัตถุปุเรชาตะ มี ๓ วาระ (เหมือนกับจิตตสหภูทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๗๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (เหมือนกับจิตตสหภูทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ มี ๒ วาระ สภาวธรรมที่มีมูลเดียว มี ๑ ฆฏนา) เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๓๐๕] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับจิตต- สหภูทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน สหชาตะ และนานาขณิกะ มี ๓ วาระ) เป็นปัจจัย โดยวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ (เหมือนกับ ข้อความในจิตตสหภูทุกะ กวฬิงการาหารมีอย่างเดียวเท่านั้น) เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๓๐๖] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑) สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑) สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๗๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ระคนกับจิต และมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณโดย วิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ระคนกับ จิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือสหชาตะ และปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์ โดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์โดย วิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตต- ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือสหชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ)
อัตถิปัจจัย
[๓๐๗] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๗๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ปัจจัยนี้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย พึงเพิ่ม ปุเรชาตปัจจัยที่ย่อไว้ทั้งหมด พึงขยายให้พิสดาร) (๑) สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ จิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ จิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ (ปัจจัยนี้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ไม่มีข้อแตกต่างกัน) (๒) สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน และที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ จิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิ- ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ จิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ (ปัจจัยนี้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย) (๓) [๓๐๘] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิต เป็นสมุฏฐาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดย อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขุวิญญาณเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๗๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร

ขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน และจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่ม เป็น ๒ วาระ) (๑) สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่ระคน กับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน และจิตเป็นปัจจัยแก่รูปที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็น สมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและมหาภูตรูปเป็น ปัจจัยแก่รูปที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ที่ระคนกับจิต มีจิตเป็นสมุฏฐานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอัตถิปัจจัย (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๓ วาระ) ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน และจิตเป็นปัจจัยแก่ กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน จิตและกวฬิงการา- หารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน จิตและรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิต เป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วย กายวิญญาณ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๗๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน และจิตเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่ระคน กับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๓๐๙] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๗๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๑๐] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสย- ปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน และที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณ- ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓) [๓๑๑] สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ระคน กับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน และที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๗๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ ๗. ปัญหาวาร

[๓๑๒] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิต เป็นสมุฏฐาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดย อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่ระคนกับจิตมีจิต เป็นสมุฏฐานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
[๓๑๓] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ) โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
[๓๑๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๓ วาระ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๗๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๔. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[๓๑๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ (ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา)
จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๓ หน้าที่ ๑๖๙-๑๗๘. http://84000.org/tipitaka/pitaka3/m_siri.php?B=43&siri=29              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka3/v.php?B=43&A=3849&Z=4088                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=0              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=43&item=240&items=14              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=43&item=240&items=14                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu43



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :