ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๕ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๒ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๖

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลมปัจจนียะ ติกปัฏฐาน
__________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลและที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ฯลฯ (๔) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (๕) [๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๑๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย (๕) [๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นอัพยากตวิบาก ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยา ฯลฯ (๓) (ย่อ) [๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลและมหาภูตรูป เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็น อัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๑๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่ เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) (จิตตสมุฏฐานรูปเท่านั้นเป็นไปในวาระนี้ พึงเพิ่มเป็น ๑๙ วาระ)
อารัมมณปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลและที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ- ปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย (๓) ย่อ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๑๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

เหตุปัจจัย มี ๑๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑๙ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๑๙ วาระ
ปัจจนียะ-นเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ นเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ นเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ นเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ นเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย (๓) [๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ นอารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณ- ปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๑๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณ- ปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณ- ปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย (๓) (ย่อ) นเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๑๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๑๙ วาระ ฯลฯ นกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ นอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ นมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ โนวิคตปัจจัย มี ๑๕ วาระ (พึงขยายปัจจนียะให้พิสดาร พึงขยายสหชาตวารและปัจจยวารให้พิสดาร ในปัจจยวาร เหตุปัจจัย มี ๒๖ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๑๘ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๒๖ วาระ นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตวารเหมือนกับ ปฏิจจวาร)
๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัยและอารัมมณปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตโดยเหตุปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๑๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลและที่ไม่เป็น อัพยากฤตโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลโดย เหตุปัจจัย (๕) [๙] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลและที่ไม่เป็น อัพยากฤตโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็น อกุศลโดยเหตุปัจจัย (๕) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็น อกุศลโดยเหตุปัจจัย (๓) [๑๐] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลโดยอารัมมณ- ปัจจัย (มี ๖ วาระ) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลโดยอารัมมณปัจจัย (มี ๖ วาระ) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตโดย อารัมมณปัจจัย (มี ๖ วาระ ย่อ) [๑๑] เหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๑๘ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๑๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๒๖ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๑๘ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑๓ วาระ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑๓ วาระ ฯลฯ มัคคปัจจัย มี ๑๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๒๖ วาระ (พึงขยายปัญหาวารให้พิสดาร)


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๕ หน้าที่ ๒๑๑-๒๑๗. http://84000.org/tipitaka/pitaka3/m_siri.php?B=45&siri=40              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka3/v.php?B=45&A=3307&Z=3441                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=45&i=521              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=45&item=521&items=18              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=45&item=521&items=18                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๕ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu45



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :