ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๐ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
ปัญหาวาร
[๖๙๗] สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม โดยเหตุปัจจัย มี ๔ นัย. ในอารัมมณปัจจัยก็ดี ในอธิปติปัจจัยก็ดี เหมือนกับสัปปีติกทุกะต่างกันแต่คำว่า สุข ดังนี้. [๖๙๘] สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สุขสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย.
พึงกระทำมูล
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคต- *ธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ภวังค์ที่เป็น สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก- *มโนธาตุ วิบากมโนวิญญาณธาตุที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กิริยามโนวิญญาณธาตุ ภวังค์ที่เป็นสุขสหคตธรรมเป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม กุศล อกุศล ที่เป็น สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย.
พึงกระทำมูล
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุข สหคตกรรม ที่เกิดหลังๆ และสุข โดยอนันตรปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ.
พึงกระทำมูล
ทั้งสามอย่าง เหมือนกับสัปปีติกทุกะ.
สุขสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม โดย อนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ และสุข เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย.
พึงกระทำมูล
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ และสุขเป็นปัจจัยแก่สุขที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ภวังค์ที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุขเป็นปัจจัยแก่วิบากมโนวิญญาณธาตุ วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัยแก่กิริยามโนวิญญาณธาตุ ภวังค์ที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่ ไม่ใช่สุขสหคตธรรม กุศล อกุศล ที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตร ปัจจัย.
พึงกระทำมูล
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ และสุขเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สุขสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ และสุข โดยอนันตรปัจจัย. ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสมนันตรปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยนิสสยปัจจัย. [๖๙๙] สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ นัย. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรมเป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม แล้วให้ทานด้วยจิตที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ศีล ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฤดู โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ สุข แล้วให้ทานด้วยจิตที่ไม่ใช่ สุขสหคตธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และสุข เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่ใช่ สุขสหคตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่โทสะ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ มรรค แก่ผลสมาบัติ และแก่สุข โดยอุปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม แล้วให้ทานด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ สุข แล้วให้ทานด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้ เกิด ถือเอาของที่เขามิได้ให้ ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม มุสา ฯลฯ ปิสุณา ฯลฯ สัมผะ ฯลฯ ตัดช่องย่องเบา ฯลฯ ลอบขึ้นไปลักทรัพย์ ฯลฯ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง ฯลฯ ปล้นตามทาง ฯลฯ ภริยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ฯลฯ ศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสุขสหคต- *ธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคต- *ธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม แล้วให้ทานด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม. มีอธิบายเหมือนข้อความตามบาลี ตอนที่ ๒. ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ สุข แล้วให้ทาน ฯลฯ ยัง สมาบัติให้เกิด ถือเอาของที่เขามิได้ให้ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และสุขเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น สุขสหคตธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ และแก่สุข โดยอุปนิสสยปัจจัย. สุขสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ นัย. [๗๐๐] ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม โดย ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นซึ่งหทัยวัตถุ โดยความ ความเป็นของไม่เที่ยง ด้วยจิตที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ. ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม และสุข โดยปุเรชาตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นซึ่งหทัยวัตถุ โดยความ เป็นของไม่เที่ยง ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ ปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น. ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคต- *ธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นซึ่งหทัยวัตถุ โดยความ เป็นของไม่เที่ยง ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ ปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ. ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข โดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ นัย. [๗๐๑] สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก กัมมปัจจัย แบ่งเป็น ๖ พึงกระทำให้เป็นทั้งสหชาต และนานาขณิก ๔ ให้เป็น นานาขณิก ๒. ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยวิปากปัจจัย มี ๙ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอาหารปัจจัย มี ๔ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอินทริยปัจจัย มี ๙ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยฌานปัจจัย มี ๙ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยมัคคปัจจัย มี ๔ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอัตถิปัจจัย มี ๙ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยนัตถิปัจจัย มี ๙ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยวิคตปัจจัย มี ๙ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอวิคตปัจจัย มี ๙ นัย. [๗๐๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๔ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มีวาระ ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในกัมมปัจจัย มี " ๖ ในวิปากปัจจัย มี " ๙ ในอาหารปัจจัย มี " ๔ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๙ ในมัคคปัจจัย มี " ๔ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๙ ในวิคตปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙. ปัจจนียวิภังค์ก็ดี การนับก็ดี พึงทำเหมือนสัปปีติกทุกะ ด้วยประการฉะนี้ แม้ถ้ามีความ สงสัย พึงดูอนุโลมวาร แล้วนับ.
สุขสหคตทุกะ จบ

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๓ บรรทัดที่ ๑๑๗๓๒-๑๑๘๘๐ หน้าที่ ๔๕๙-๔๖๔. https://84000.org/tipitaka/pitaka3/v.php?B=43&A=11732&Z=11880&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/pitaka3/m_siri.php?B=43&siri=97              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- [697-702] https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=43&item=697&items=6              The Pali Tipitaka in Roman :- [697-702] https://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=43&item=697&items=6              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ https://84000.org/tipitaka/read/?index_43

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :