ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ  พระวินัยปิฎก  พระสุตตันตปิฎก  พระอภิธรรมปิฎก  ค้นพระไตรปิฎก  ชาดก  หนังสือธรรมะ 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๑๐ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
             [๓๗๕] อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย
             มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต.
             ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ กายรูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม กลิ่น
โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ
             เมื่อกุศล และอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น
             รูปายตนะที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ คันธายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพ-
*พายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
             ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย.
             อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย
             มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต.
             ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ กายรูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม กลิ่น
รส โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น
             บุคคลเห็นรูปที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วยทิพพจักขุ.
             ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม
โดยปุเรชาตปัจจัย.
             อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย
             มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ รูปทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ เสียง
ฯลฯ โผฏฐัพพะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น
             บุคคลเห็นรูปที่เป็นอนุปาทินนธรรม ด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ.

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๓๘.

อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ รูปทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ โผฏฐัพพะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศล และอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ สัททายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพ- *พายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. คือ รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทัยวัตถุ โผฏฐัพพายตนะ และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนธรรม และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ สัททายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาต- *ปัจจัย. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. คือ รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทัยวัตถุ โผฏฐัพพายตนะ และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย.

             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ บรรทัดที่ ๖๐๖๒-๖๐๙๙. หน้าที่ ๒๓๗ - ๒๓๘. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=43&A=6062&Z=6099&pagebreak=1              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย[เลขข้อ] เป็นเกณฑ์แบ่งข้อ :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=43&item=375&items=1&preline=&pagebreak=1&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=43&siri=              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item.php?book=43&item=375&items=1&pagebreak=1              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรโรมัน :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item.php?book=43&item=375&items=1&pagebreak=1              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_43

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]