ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ  พระวินัยปิฎก  พระสุตตันตปิฎก  พระอภิธรรมปิฎก  ค้นพระไตรปิฎก  ชาดก  หนังสือธรรมะ 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๙ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๑ [ฉบับมหาจุฬาฯ] สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
๕. ปฐมสามัญญสูตร
ว่าด้วยความเป็นสมณะ สูตรที่ ๑
[๓๕] เรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี “ภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงสามัญญะ (ความเป็นสมณะ) และสามัญญผล (ผล แห่งความเป็นสมณะ) แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง @เชิงอรรถ : @ ธรรมดำ หมายถึงอกุศลธรรม ได้แก่ กายทุจริตเป็นต้น (สํ.ม.อ. ๓/๓๑-๔๐/๑๙๖, ขุ.ธ.อ. ๔/๕๑-๕๒) @ ธรรมขาว หมายถึงกุศลธรรม ได้แก่ กายสุจริตเป็นต้น (สํ.ม.อ. ๓/๓๑-๔๐/๑๙๖, ขุ.ธ.อ. ๔/๕๑-๕๒) @ ที่มีน้ำ ในที่นี้หมายถึงวัฏฏะ ที่ไม่มีน้ำ ในที่นี้หมายถึงวิวัฏฏะ คือนิพพาน (สํ.ม.อ. ๓/๓๑-๔๐/๑๙๖, @องฺ.ทสก.อ. ๓/๑๑๗-๑๑๘/๓๗๕) @ วิเวก หมายถึงวิเวก ๓ มีกายวิเวกเป็นต้น (สํ.ม.อ. ๓/๔/๑๘๕, องฺ.ทสก.อ. ๓/๑๑๗-๑๑๘/๓๗๕) @ ดู องฺ.ทสก. (แปล) ๒๔/๑๑๗/๒๖๙-๒๗๐ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑๙ หน้า : ๓๔}

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค [๑. มัคคสังยุต]

๔. ปฏิปัตติวรรค ๖. ทุติยสามัญญสูตร

สามัญญะ เป็นอย่างไร คือ อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้แล ได้แก่ ๑. สัมมาทิฏฐิ ฯลฯ ๘. สัมมาสมาธิ นี้เรียกว่า สามัญญะ สามัญญผล เป็นอย่างไร คือ โสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตตผล เหล่านี้เรียกว่า สามัญญผล”
ปฐมสามัญญสูตรที่ ๕ จบ

             เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๑๙ หน้าที่ ๓๔-๓๕. https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_line.php?B=19&A=943 https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=19&siri=35              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับฉบับหลวง https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=19&A=547&Z=555&pagebreak=0              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=19&i=99              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๙ https://84000.org/tipitaka/read/?index_19 https://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu19 https://84000.org/tipitaka/english/?index_19


บันทึก ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับมหาจุฬาฯ. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]