ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๒ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๔ [ฉบับมหาจุฬาฯ] อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
๑๐. มุฏฐัสสติสูตร
ว่าด้วยภิกษุผู้หลงลืมสติ
[๒๑๐] ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้หลงลืมสติ ไม่มีสัมปชัญญะนอนหลับ มีโทษ ๕ ประการนี้ โทษ ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ ๑. หลับเป็นทุกข์ ๒. ตื่นเป็นทุกข์ ๓. ฝันลามก ๔. เทวดาไม่รักษา ๕. น้ำอสุจิเคลื่อน @เชิงอรรถ : @ เสียงขับยาว หมายถึงการขับทำนองที่ทำให้อักขระเพี้ยนไปจนเป็นเหตุทำลายวัตร (ข้อปฏิบัติ) ที่ปรากฏ @ในพระสูตร ปรากฏในคาถาให้สูญหายไป (องฺ.ปญฺจก.อ. ๓/๒๐๙/๘๗, องฺ.ปญฺจก.ฏีกา ๓/๒๐๙-๒๑๐/๙๕) @ หมายถึงจิตในระดับสมถกัมมัฏฐาน และวิปัสสนากัมมัฏฐานต้องมีอันเสื่อมไป (องฺ.ปญฺจก.อ. ๓/๒๐๙/๘๗) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๒๒ หน้า : ๓๕๒}

พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต [๕. ปัญจมปัณณาสก์]

๑. กิมพิลวรรค รวมพระสูตรที่มีในวรรค

ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้หลงลืมสติ ไม่มีสัมปชัญญะนอนหลับ มีโทษ ๕ ประการนี้แล ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้มีสติตั้งมั่น มีสัมปชัญญะนอนหลับ มีอานิสงส์ ๕ ประการนี้ อานิสงส์ ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ ๑. หลับเป็นสุข ๒. ตื่นเป็นสุข ๓. ไม่ฝันลามก ๔. เทวดารักษา ๕. น้ำอสุจิไม่เคลื่อน ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้มีสติตั้งมั่น มีสัมปชัญญะนอนหลับ มีอานิสงส์ ๕ ประการนี้แล
มุฏฐัสสติสูตรที่ ๑๐ จบ
กิมพิลวรรคที่ ๑ จบ
รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ
๑. กิมพิลสูตร ๒. ธัมมัสสวนสูตร ๓. อัสสาชานียสูตร ๔. พลสูตร ๕. เจโตขิลสูตร ๖. วินิพันธสูตร ๗. ยาคุสูตร ๘. ทันตกัฏฐสูตร ๙. คีตัสสรสูตร ๑๐. มุฏฐัสสติสูตร {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๒๒ หน้า : ๓๕๓}

             เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๒๒ หน้าที่ ๓๕๒-๓๕๓. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_read.php?B=22&A=9965&w= http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=22&siri=210              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=22&A=5863&Z=5881&pagebreak=0              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=22&i=210              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลี อักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=22&item=210&items=1              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลี อักษรโรมัน :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=22&item=210&items=1              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๒ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu22

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พระไตรปิฎก ฉบับมหาจุฬาฯ. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]