ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
สัมปยุตตสภาคนัย
[๘๒] เหตุปัจจัย กับสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (๑๓)
ฆฏนา (๒)
ปัจจัย ๖ คือ สัมปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ ปัจจัย ๗ คือ สัมปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ (... กับอัตถิปัจจัย นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย อวิคตปัจจัย ฯลฯ)
อนุโลมแห่งปัญหาวาร จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๙๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัญหาวาร - ปัจจนียุทธาร
[๘๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย สุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย ทุกขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓) [๘๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย ทุกขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย สุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓) [๘๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต ด้วยสุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต ด้วยทุกขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๘๖] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๙๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ นสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ นฌานปัจจัย มี ๙ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ โนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
นเหตุทุกนัย
[๘๗] นอารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ โนอวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๙๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร

ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ นอุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๘ วาระ ฯลฯ โนอวิคตปัจจัย ” ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
เอกวีสกนัย
โนอวิคตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นอุปนิสสยปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นวิปากปัจจัย และนอาหารปัจจัย ฯลฯ มี ๘ วาระ
นเหตุมูลกนัย จบ
(ผู้รู้พึงนับให้เป็นมูลกนัยทั้งหมด เหมือนการนับจำนวนปัจจนียะแห่งกุสลติกะ)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุสภาคนัย
[๘๘] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๙๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๓ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สามัญญฆฏนา
[๘๙] นอารัมมณปัจจัย กับปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ ฯลฯ โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ (พึงนับเหมือนการนับจำนวนอนุโลมปัจจนียะแห่งกุสลติกะที่ท่านได้นับไว้ ตามแนวแห่งการสาธยาย) นเหตุปัจจัย กับกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ นอารัมมณปัจจัย ” มี ๘ วาระ ฯลฯ โนอวิคตปัจจัย ” มี ๘ วาระ (ย่อ)
การนับอนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๙๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๙๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร

สมนันตรปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๘ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อนันตรปัจจัย ” ” มี ๗ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
ฉักกนัย
สหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย และนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๙๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร

อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๘ วาระ วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ ฯลฯ
นวกนัย
อุปนิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย (ย่อปัจจัยที่เป็นมูล) และ นนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๘ วาระ ฯลฯ
จตุวีสกนัย (สอุปนิสสยะ)
กัมมปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นอุปนิสสยปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นวิปาก- ปัจจัย นอาหารปัจจัย นอินทรียปัจจัย นฌานปัจจัย นมัคค- ปัจจัย นสัมปยุตตปัจจัย นวิปปยุตตปัจจัย โนอัตถิปัจจัย โนนัตถิปัจจัย โนวิคตปัจจัย และโนอวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ
จตุวีสกนัย (สกัมมะ)
อุปนิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นนิสสยปัจจัย นปุเร- ชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย ฯลฯ โนวิคตปัจจัย และโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
นเหตุมูลกนัย จบ
นอารัมมณทุกนัย
[๙๑] เหตุปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ กัมมปัจจัย ” มี ๘ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๙๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร

โนอวิคตทุกนัย
[๙๒] อารัมมณปัจจัย กับโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๘ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ ฯลฯ
จตุกกนัย
อนันตรปัจจัย กับโนอวิคตปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๘ วาระ นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ ฯลฯ
จตุวีสกนัย (สอุปนิสสยะ)
กัมมปัจจัย กับโนอวิคตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นสหชาตปัจจัย นอัญญ- มัญญปัจจัย นนิสสยปัจจัย นอุปนิสสยปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นวิปากปัจจัย นอาหาร- {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๙๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัจจัย นอินทรียปัจจัย นฌานปัจจัย นมัคคปัจจัย นสัมปยุตตปัจจัย นวิปปยุตตปัจจัย โนอัตถิปัจจัย โนนัตถิปัจจัย และโนวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ
จตุวีสกนัย (สกัมมะ)
อุปนิสสยปัจจัย กับโนอวิคตปัจจัย นเหตุปัจจัย ฯลฯ นนิสสยปัจจัย นปุเรชาต- ปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย ฯลฯ โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับเวทนาติกะนี้ เหมือนการนับจำนวนปัจจนียานุโลมแห่งกุสลติกะที่ได้นับไว้แล้ว ตามแนวทางแห่งการสาธยาย)
ปัจจนียานุโลม จบ
เวทนาติกะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๐๐}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๖๙๒-๗๐๐. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=40&siri=163              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=40&A=16354&Z=16540                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1217              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=1217&items=21              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=1217&items=21                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :