ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
อนุโลม เหตุปัจจัย
[๕๓] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุ- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

และที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูปอาศัย ขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัย ขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลและอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลและอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๕๔] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัย ขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็น อัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัย ขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อธิปติปัจจัย
[๕๕] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะอธิปติ- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะอธิปติ- ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศล และที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ อธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากต- วิบากและอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิด ขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลและอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลและ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
อนันตรปัจจัยและสมนันตรปัจจัย
[๕๖] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะอนันตร- ปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (อนันตรปัจจัยและสมนันตรปัจจัยเหมือนกับอารัมมณปัจจัย)
สหชาตปัจจัย
[๕๗] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะสหชาต- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะสหชาต- ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะสหชาต- ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่เป็นอกุศล และที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ สหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากต- วิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัย มหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น อุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลและอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๓๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลและอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
อัญญมัญญปัจจัย
[๕๘] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะอัญญ- มัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญ- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ อัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็น อัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และหทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น (๑)
นิสสยปัจจัย
[๕๙] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะนิสสย- ปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล (นิสสยปัจจัยเหมือนกับสหชาตปัจจัย) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๓๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อุปนิสสยปัจจัย
[๖๐] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะอุป- นิสสยปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล (อุปนิสสยปัจจัยเหมือนกับ อารัมมณปัจจัย)
ปุเรชาตปัจจัย
[๖๑] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะปุเรชาต- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะ ปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะปุเรชาต- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะปุเรชาต- ปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ ปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็น อัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะปุเรชาตปัจจัย (๑)
อาเสวนปัจจัย
[๖๒] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะอาเสวน- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะอาเสวน- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๓๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
กัมมปัจจัย
[๖๓] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะกัมมปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ... มี ๓ วาระ ... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ กัมมปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยา ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น สำหรับ เหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะกัมมปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลและอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะกัมมปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลและอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
วิปากปัจจัย
[๖๔] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อัพยากตวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๓๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
อาหารปัจจัย
[๖๕] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะอาหาร- ปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะอาหาร- ปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ อาหารปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยา ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... อาศัย มหาภูตรูป ๑ ที่มีอาหารเป็นสมุฎฐาน ฯลฯ อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) ... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะอาหารปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลและ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
อินทรียปัจจัย
[๖๖] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะอินทรีย- ปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ... มี ๓ วาระ ... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ... มี ๓ วาระ ... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (อินทรียปัจจัยเหมือนกับกัมมปัจจัย) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๓๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

ฌานปัจจัยและมัคคปัจจัย
[๖๗] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะฌานปัจจัย ... เพราะมัคคปัจจัย (ฌานปัจจัยและมัคคปัจจัยเหมือนกับเหตุปัจจัย)
สัมปยุตตปัจจัย
[๖๘] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะสัมปยุตต- ปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ... (สัมปยุตตปัจจัยเหมือนกับ อารัมมณปัจจัย)
วิปปยุตตปัจจัย
[๖๙] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต- ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น กุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต- ปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๓๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต- ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิด ขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต- ปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ วิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากต- วิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิด ขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย กฏัตตารูปอาศัยขันธ์เกิด ขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะ วิปปยุตตปัจจัย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัย มหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลและอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลและ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๓๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อัตถิปัจจัย
[๗๐] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (ย่อ) (อัตถิปัจจัยเหมือนกับ สหชาตปัจจัย)
นัตถิปัจจัยและวิคตปัจจัย
[๗๑] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย (นัตถิปัจจัยและวิคตปัจจัยเหมือนกับอารัมมณปัจจัย)
อวิคตปัจจัย
[๗๒] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะอวิคตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (อวิคตปัจจัยเหมือนกับสหชาตปัจจัย) (ผู้สาธยายพึงขยายปัจจัย ๒๓ เหล่านี้ให้พิสดาร)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
คณนเหตุมูลกนัย
[๗๓] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๓๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
ทุกนัย
[๗๔] อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๓๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

กัมมปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๙ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
ติกนัย
[๗๕] อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัยและอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อนันตรปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๓๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

ฌานปัจจัย กับเหตุปัจจัยและอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ นัตถิปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
ทวาทสกนัย
[๗๖] กัมมปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย อธิปติปัจจัย อนันตรปัจจัย สมนันตรปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ ฯลฯ
พาวีสกนัย
[๗๗] อวิคตปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ อาเสวนปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย อินทรียปัจจัย ฌานปัจจัย มัคคปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย วิปปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย นัตถิปัจจัย และวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๔๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

เตรสกนัย
[๗๘] อาหารปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย กัมมปัจจัย และวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
พาวีสกนัย
[๗๙] อวิคตปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย กัมมปัจจัย วิปากปัจจัย อาหารปัจจัย อินทรียปัจจัย ฌานปัจจัย มัคคปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย วิปปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย นัตถิปัจจัย และวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
การนับวาระ มีเหตุปัจจัยเป็นมูล จบ
ทุกนัยมีอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
(ปัจจัยทั้งปวงกับปัจจัยที่ตั้งอยู่ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ เท่านั้น)
[๘๐] เหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๔๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

เหตุปัจจัย กับอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับอนันตรปัจจัยและสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
อาเสวนทุกนัย
[๘๑] เหตุปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย ” มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๔๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

วิปปยุตตปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
(ปัจจัยที่มีอาเสวนปัจจัยเป็นมูลไม่มีวิปากปัจจัย)
กัมมทุกนัย
[๘๒] เหตุปัจจัย กับกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
วิปากทุกนัย
[๘๓] เหตุปัจจัย กับวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อารัมมณปัจจัย ” มี ๑ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๔๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

วิปปยุตตปัจจัย กับวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
(ปัจจัยที่มีวิปากปัจจัยเป็นมูลไม่มีอาเสวนปัจจัย)
ทุกนัยมีอาหารปัจจัยเป็นต้น
[๘๔] เหตุปัจจัย กับอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับอินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตทุกนัย
[๘๕] เหตุปัจจัย กับอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย ” มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ นัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
(ผู้สาธยายพึงทำปัจจัยแต่ละอย่างให้เป็นมูลแล้วนับดูเถิด)
อนุโลม จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๔๔}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๒๖-๔๔. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=40&siri=27              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=40&A=502&Z=929                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=56              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=56&items=31              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=10653              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=56&items=31              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=10653                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :