ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๒๗๗] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิด ขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิด ขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ ซึ่งเป็นอัพยากตวิบากและอัพยากตกิริยาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ ทำมหาภูตรูป ๑ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำ มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่ มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ ทำมหาภูต- รูป ๑ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ ทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นอัพยากตวิบากและ อัพยากตกิริยาทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ นเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย อุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและหทัยวัตถุให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๕๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

นอารัมมณปัจจัย
[๒๗๘] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิด ขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น (พึงขยายให้พิสดารเหมือนนอารัมมณปัจจัยในปฏิจจวาร)
นอธิปติปัจจัย
[๒๗๙] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ... มี ๓ วาระ ... ทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ... มี ๓ วาระ ... ทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่ม อัพยากตบทให้บริบูรณ์) ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มี อุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ นอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (พึงนับเหมือนสหชาตปัจจัยในอนุโลม)
นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๘๐] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะ นอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย (พึงขยายให้พิสดารเหมือนในปฏิจจวาร) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๕๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

นปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๒๘๑] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย ฯลฯ ทำจักขายตนะ ฯลฯ (นปัจฉาชาตปัจจัยและนอาเสวนปัจจัยบริบูรณ์แล้ว มี ๑๗ วาระ) (พึงขยายให้พิสดารเหมือนสหชาตปัจจัยในอนุโลม)
นกัมมปัจจัย
[๒๘๒] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นกุศลทำขันธ์ที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ นกัมมปัจจัยได้แก่ เจตนาที่เป็นอกุศลทำขันธ์ที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัพยากตกิริยาทำขันธ์ที่เป็นอัพยากตกิริยาให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ทำมหาภูตรูป ๑ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ อุปาทายรูป ... เจตนาที่เป็นอัพยากตกิริยาทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นกุศลทำขันธ์ที่เป็นกุศลและทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอกุศลทำขันธ์ที่เป็นอกุศลและ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๕๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

นวิปากปัจจัย
[๒๘๓] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ นวิปากปัจจัย ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ... มี ๓ วาระ ... ทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากต- กิริยาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๒ ให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ ทำมหาภูตรูป ๑ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ จิตต- สมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ ทำมหาภูตรูป ๑ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็น อุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอัพยากตกิริยาทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ นวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (เว้นวิปากปัจจัย ทุกปัจจัยพึงขยายให้พิสดาร)
นอาหารปัจจัยเป็นต้น
[๒๘๔] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย เพราะนอินทรียปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (นี้เป็นความต่างกันในนฌานปัจจัย) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นอัพยากต- วิบากและอัพยากตกิริยาทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (นี้เป็นความต่างกันใน นมัคคปัจจัย) (ที่เหลือพึงขยายให้พิสดารเหมือนปัจจนียะในปฏิจจวาร) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๕๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

นสัมปยุตตปัจจัยเป็นต้น
[๒๘๕] ... เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย เพราะโนนัตถิปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ โนวิคตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงขยายให้พิสดารเหมือนในปฏิจจวาร)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
[๒๘๖] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๕๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
นเหตุทุกนัย
[๒๘๗] นอารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๔ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๔ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๔ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๕๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
นอารัมมณทุกนัย
[๒๘๘] นเหตุปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๕ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๕๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

โนนัตถิปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัย และนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ โนวิคตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
นอธิปติทุกนัย
[๒๘๙] นเหตุปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ นอารัมมณปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๕๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

ติกนัย
นอารัมมณปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย และนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๔ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๔ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๔ วาระ นอาหารปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ
จตุกกนัย
นอนันตรปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) ฯลฯ
นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๙๐] ...กับนอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย และ นอุปนิสสยปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๕๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

นปุเรชาตทุกนัย
[๒๙๑] นเหตุปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ นอารัมมณปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๗ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
ติกนัย
นอารัมมณปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๖๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

นอุปนิสสยปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอาหารปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ
จตุกกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
นปัจฉาชาตะและนอาเสวนทุกนัย
[๒๙๒] นเหตุปัจจัย กับนปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ นอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ นอารัมมณปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๗ วาระ นอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๖๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๗ วาระ นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๗ วาระ นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
ติกนัย
นอารัมมณปัจจัย กับนอาเสวนปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” ” มี ๔ วาระ นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๔ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๔ วาระ นอาหารปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๖๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

นมัคคปัจจัย กับนอาเสวนปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ
จตุกกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนอาเสวนปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
นกัมมทุกนัย
[๒๙๓] นเหตุปัจจัย กับนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๗ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๖๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

นมัคคปัจจัย กับนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ติกนัย
นอารัมมณปัจจัย กับนกัมมปัจจัย และนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมี ปัจจัยละ ๑ วาระ) โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
นวิปากทุกนัย
[๒๙๔] นเหตุปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ นอารัมมณปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๖๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

นมัคคปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
ติกนัย
นอารัมมณปัจจัย กับนวิปากปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” ” มี ๔ วาระ นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๔ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๔ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอาหารปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๖๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

จตุกกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนวิปากปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
ทุกนัยมีนอาหารปัจจัยเป็นต้น
[๒๙๕] นเหตุปัจจัย กับนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) โนวิคตปัจจัย กับนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นเหตุปัจจัย กับนอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) นเหตุปัจจัย กับนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) นเหตุปัจจัย กับนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) ... กับนสัมปยุตตปัจจัย ... (ปัจจัยนี้เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย)
นวิปปยุตตทุกนัย
[๒๙๖] นเหตุปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ นอารัมมณปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๖๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

นวิปากปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ติกนัย
นอารัมมณปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอาหารปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๖๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร

จตุกกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) ... กับโนนัตถิปัจจัย ... กับโนวิคตปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย)
ปัจจนียะในปัจจยวาร จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๑๕๑-๑๖๘. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=40&siri=33              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=40&A=3357&Z=3768                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=283              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=283&items=26              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=11137              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=283&items=26              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=11137                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :