ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
๒๔. สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ
๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๐๖] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ กามราคสังโยชน์ เป็นปัจจัยแก่ทิฏฐิสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์โดยเหตุปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑) สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ สังโยชน์และเหตุที่ สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๓๒๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๒๔. สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นสังโยชน์สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์โดย เหตุปัจจัย ได้แก่ กามราคสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่ทิฏฐิสังโยชน์ อวิชชาสังโยชน์ และสัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๑๐๗] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะ ปรารภสังโยชน์ สังโยชน์จึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภสังโยชน์ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์จึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภสังโยชน์ ขันธ์ที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์จึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็น สังโยชน์จึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์ สังโยชน์จึงเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นสังโยชน์สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์โดย อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์ ขันธ์ที่เป็นสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์จึงเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่ เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดย อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๓๒๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๒๔. สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อธิปติปัจจัย
[๑๐๘] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ (ในวาระทั้ง ๓ นี้ พึงเพิ่มอารัมมณาธิปติปัจจัยและสหชาตาธิปติปัจจัย) สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๐๙] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ (ไม่มี ข้อแตกต่างกัน ไม่มีการจำแนกไว้ เหมือนกับอารัมมณปัจจัย) เป็นปัจจัยโดย สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็น ปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงเพิ่มตามนัยแห่งอารัมมณปัจจัย) เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๑๑๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์โดยกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัย โดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ เป็น ปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ เป็น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๓๒๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๒๔. สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๑๑๑] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อนุโลม จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๓๒๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๒๔. สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๑๒] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (ย่อ พึงทำเป็น ๙ วาระอย่างนี้ พึงเปลี่ยนได้แต่เฉพาะในบท ทั้ง ๓ ไม่มีนานาขณิกะ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
[๑๑๓] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ (ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ) โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๑๑๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ นมัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๓๒๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๒๕. สัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[๑๑๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ (พึงเพิ่มบทอนุโลม) ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๒ หน้าที่ ๓๒๕-๓๓๐. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=42&siri=61              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=42&A=8921&Z=9059                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=487              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=42&item=487&items=10              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=42&item=487&items=10                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu42



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :