ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๔๐] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็นภายนอกโดยเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่ เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตและกฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยเหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น ภายนอกโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิตและจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิตและกฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกโดย เหตุปัจจัย (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๓๔๑] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภจิต จิตจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภจิต ขันธ์ที่เป็นภายนอกจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภจิต จิตและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดย อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๙๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

จึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และ อาวัชชนจิต โดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลสที่เป็นภายนอก ซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งรูป ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่เป็นภายนอก โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียง ด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นภายนอกด้วย เจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็น ปัจจัย แก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสา- นุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณ- ปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยอารัมมณ- ปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น ยินดี เพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น จิตจึงเกิดขึ้น บุคคล พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ฯลฯ (ย่อ พึงเพิ่มข้อความทั้งหมด) พระอริยะรู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งรูป ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ ปรารภความยินดีเพลิดเพลินรูปเป็นต้นนั้น จิตจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ (ย่อ) รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติ- ญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น ภายนอกโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ แล้วพิจารณากุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๙๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

จิตและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (ย่อ พึงเพิ่มข้อความทั้งหมด) บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ ที่เป็นภายนอก โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภ ความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น จิตและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วย ทิพพจักขุ ฯลฯ (ย่อ) รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิต โดยอารัมมณปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น ภายในโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย
[๓๔๒] สภาวธรรมที่เป็นภายใน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่เป็นภายใน และจิตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น จิตจึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายใน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำจิตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่ เป็นภายนอกจึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมคือจิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำจิตที่เป็นภายในให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น จิตและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดย อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๙๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ มี ๓ วาระ (สำหรับวาระ แม้ทั้ง ๓ พึงเพิ่มอธิปติปัจจัยทั้ง ๒) (๓) สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น ภายในโดยอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ (สำหรับวาระแม้ทั้ง ๓ มีอธิปติปัจจัยเพียง อย่างเดียวเท่านั้น)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๔๓] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย อนันตรปัจจัย ได้แก่ จิตที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลังๆ โดยอนันตปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดย อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายนอกซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ มี ๓ วาระ (สำหรับวาระแม้ทั้ง ๓ ก็เหมือนกับวาระเดียวกัน) สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น ภายในโดยอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ (เหมือนกับปัจจยวาร)
อุปนิสสยปัจจัย
[๓๔๔] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะและ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๙๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ จิตเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงทำให้ครบทั้ง ๓ วาระ พึงเพิ่มคำว่า จิตและสัมปยุตตขันธ์ด้วย) สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น ภายในโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย
[๓๔๕] สภาวธรรมที่เป็นภายใน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายใน โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายโดยเป็นสภาวะ ไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น จิตจึงเกิดขึ้น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายใน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดย ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายโดยเป็นสภาวะ ไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดี ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๙๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น ภายนอกโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายโดยเป็นสภาวะ ไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น จิตและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์โดยปุเรชาตปัจจัย (๓) [๓๔๖] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นภายนอกโดย ปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภการเห็นแจ้งรูปเป็นต้นนั้น จิตจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น ภายนอกโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น จิตและ สัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๙๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์โดย ปุเรชาตปัจจัย (๓) [๓๔๗] สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นภายในโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิต ฯลฯ กายายตนะและ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยปุเรชาตปัจจัย รูปายตนะและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดย ปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น ภายนอกโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นภายนอกโดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นภายนอกโดยปุเรชาตปัจจัย รูปายตนะและจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณโดย ปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต ด้วยกายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น ภายในและที่เป็นภายนอกโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ และวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์ โดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะและหทัยวัตถุ ฯลฯ รูปายตนะและจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์โดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ (๓)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๓๔๘] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย ปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็นภายในโดยปัจฉาชาตปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๐๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็นภาย นอกโดยปัจฉาชาตปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็น ภายในและเป็นภายนอกโดยปัจฉาชาตปัจจัย (พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระอย่างนี้) เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย (พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระ)
กัมมปัจจัยและวิปากปัจจัย
[๓๔๙] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก ซึ่งเป็นภายนอกและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตที่เป็นวิบากและ กฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น ภายนอกโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิต และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๐๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก จิต และกฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกโดยกัมมปัจจัย (๓) เป็นปัจจัยโดย วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย
[๓๕๐] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย อาหารปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็นภายในโดยอาหารปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายใน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย อาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ กฏัตตารูปที่เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่ เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย (๓) [๓๕๑] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหารที่เป็น ภายนอกเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตและกฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหารที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นภายในโดยอาหารปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น ภายนอกโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิต และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็นภายนอก {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๐๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิต และกฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก โดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหารที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นภายในและ ที่เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย (๓) [๓๕๒] สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นภายในโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็นภายในและที่ เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยอาหารปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น ภายนอกโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่ เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น ภายในและที่เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็น ภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็นภายใน และที่เป็นภายนอกโดยอาหารปัจจัย (๓)
อินทรียปัจจัย
[๓๕๓] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย อินทรียปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็นภายในโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย อินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ กฏัตตารูปที่เป็นภายนอกโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต ด้วย จักขุวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต ด้วยกายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๐๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์โดยอินทรียปัจจัย (๓) [๓๕๔] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นภายนอกเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็นภายนอกโดยอินทรียปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายนอกโดยอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตและกฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยอินทรียปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยอินทรียปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น ภายนอกโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิต และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นภายนอก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิต และกฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก โดยอินทรียปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในและที่เป็น ภายนอกโดยอินทรียปัจจัย (๓) [๓๕๕] สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นภายในโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นภายในและที่ เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์และ อุเปกขินทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์และ สุขินทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์และทุกขินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอินทรีย- ปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๐๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น ภายนอกโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่ เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็น ภายนอกโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์และอุเปกขินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต ด้วยจักขุวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์และสุขินทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์ และทุกขินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น ภายในและที่เป็นภายนอกโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็น ภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปที่เป็นภายใน และที่เป็นภายนอกโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์และอุเปกขินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์โดยอินทรียปัจจัย กายินทรีย์ ฯลฯ (๓)
ฌานปัจจัยเป็นต้น
[๓๕๖] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก โดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๓๕๗] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ จิตเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในโดย วิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๐๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็น ภายในโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดยวิปปยุตต- ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตต- ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็น ภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่ เป็นภายในและที่เป็นภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็น ภายในและเป็นภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓) [๓๕๘] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปปยุตต- ปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๐๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็น ภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยวิปปยุตต- ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็นภายในโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดย วิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็น ภายในโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น ภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๓) [๓๕๙] สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นภายในโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ... ที่เกิดภายหลัง (ย่อ) (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น ภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายใน และที่เป็นภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก ฯลฯ (ย่อ) (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๐๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๓๖๐] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย อัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ จิตเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายใน โดยอัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ไม่มีข้อแตกต่างกัน) ปัจฉาชาตะ (พึงเพิ่มให้เหมือนกับปัจฉาชาตปัจจัย) (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เกิดพร้อมกันซึ่งเป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย (ย่อ) (๒) (อัตถิปัจจัยในที่นี้ สหชาตะในที่ทุกแห่งพึงทำให้เหมือนกับปัจจยวาร ทำ ปุเรชาตะให้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ทำปัจฉาชาตะให้เหมือนกับปัจฉาชาตปัจจัย ไม่มีข้อแตกต่างกัน) สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก โดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๓) [๓๖๑] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (พึงขยายให้พิสดารทั้งหมด) (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ) (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น ภายนอกโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ) (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๐๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

[๓๖๒] สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นภายในโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็น ภายในโดยอัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ กายายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอัตถิปัจจัย รูปายตนะและจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ เกิดก่อนซึ่งเป็นภายในโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในที่เป็นภายนอกและกวฬิงการาหารเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็นภายในโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายในที่เป็นภายนอกและรูปชีวิตินทรีย์เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยอัตถิปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น ภายนอกโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ จักขายตนะ และ จักขุวิญญาณเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ (สหชาตะเหมือนกับ ปัจจยวาร ไม่มีข้อแตกต่างกัน เหมือนกับข้อความตอนต้นนั่นเอง พึงจำแนกหมด ทุกบทโดยนัยแห่งฆฏนาแรก) (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๐๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น ภายในและที่เป็นภายนอกโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย (ย่อ พึงจำแนกหมดทุกบท โดยนัยแห่งฆฏนาแรก) (๓) เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๓๖๓] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๑๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๖๔] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายใน โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และ ปัจฉาชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดยอารัมมณ- ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และ ปัจฉาชาตปัจจัย (๓) [๓๖๕] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดย อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๑๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยอารัมมณ- ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น ภายนอกโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๓) [๓๖๖] สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นภายในโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น ภายนอกโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายใน และที่เป็นภายนอกโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
[๓๖๗] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ) โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
[๓๖๘] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๑๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๓ วาระ) นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[๓๖๙] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ (พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อัชฌัตติกทุกะ จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๓ หน้าที่ ๑๙๔-๒๑๓. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=43&siri=35              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=43&A=4420&Z=4897                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=0              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=43&item=275&items=18              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=43&item=275&items=18                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu43



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :