ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๑ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
๑. เหตุทุกะ ๔. อุปาทินนติกะ
๑. อุปาทินนุปาทานิยบท ๑. ปฏิจจวาร
ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัย
[๑๕๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๕๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๑. เหตุทุกะ ๔. อุปาทินนติกะ

สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) [๑๕๓] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (ย่อ)
นเหตุปัจจัยเป็นต้น
[๑๕๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย (๑) [๑๕๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ นอารัมมณปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๕๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๑. เหตุทุกะ ๔. อุปาทินนติกะ

[๑๕๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ [๑๕๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย เพราะนอาหารปัจจัย (ย่อ) [๑๕๘] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๕๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๑. เหตุทุกะ ๔. อุปาทินนติกะ

นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ (ย่อ) (พึงขยายสหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร ให้พิสดารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๑. อุปาทินนุปาทานิยบท ๗. ปัญหาวาร
ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัยและอารัมมณปัจจัย
[๑๕๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ [๑๖๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) [๑๖๑] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๕๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๑. เหตุทุกะ ๔. อุปาทินนติกะ

อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ (ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ) กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
ปัจจนียุทธาร
[๑๖๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาต- ปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาต- ปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรีย- ปัจจัย (ย่อ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๕๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๑. เหตุทุกะ ๔. อุปาทินนติกะ

[๑๖๓] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ (ย่อ) นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ (ย่อ) (พึงนับเหมือนอนุโลม ปัจจนียะ อนุโลมปัจจนียะ และปัจจนียานุโลมแห่ง ปัญหาวารในกุสลติกะที่นับไว้แล้ว)
๒. อนุปาทินนุปาทานิยบท ๑. ปฏิจจวาร
ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัย
[๑๖๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) [๑๖๕] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๕๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๑. เหตุทุกะ ๔. อุปาทินนติกะ

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
นเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย
[๑๖๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๕๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๑. เหตุทุกะ ๔. อุปาทินนติกะ

[๑๖๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ นอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ นอารัมมณปัจจัย (๑) (ย่อ) [๑๖๘] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๕๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๑. เหตุทุกะ ๔. อุปาทินนติกะ

นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ (ย่อ) (พึงขยายสหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร ให้พิสดารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๒. อนุปาทินนุปาทานิยบท ๗. ปัญหาวาร
ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัยเป็นต้น
[๑๖๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ [๑๗๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๖๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๑. เหตุทุกะ ๔. อุปาทินนติกะ

[๑๗๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ มี ๙ วาระ ฯลฯ [๑๗๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ มี ๙ วาระ [๑๗๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาตะ มี ๓ วาระ (ย่อ) [๑๗๔] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๖๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๑. เหตุทุกะ ๔. อุปาทินนติกะ

ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
ปัจจนียุทธาร
[๑๗๕] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (ย่อ) [๑๗๖] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ (ย่อ) นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ (ย่อ) (พึงนับเหมือนอนุโลม ปัจจนียะ อนุโลมปัจจนียะ และปัจจนียานุโลมแห่ง ปัญหาวารในกุสลติกะที่นับไว้แล้ว) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๖๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๑. เหตุทุกะ ๔. อุปาทินนติกะ

๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยบท ๑. ปฏิจจวาร
ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัย
[๑๗๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) [๑๗๘] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๖๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๑. เหตุทุกะ ๔. อุปาทินนติกะ

กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอธิปติปัจจัย
[๑๗๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๖๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๑. เหตุทุกะ ๔. อุปาทินนติกะ

สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ นอธิปติปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ นอธิปติปัจจัย (๒) (ย่อ) [๑๘๐] นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ (ย่อ) นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ (ย่อ) เหตุปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ (ย่อ) (พึงขยายสหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร ให้พิสดารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยบท ๗. ปัญหาวาร
ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัยและอารัมมณปัจจัย
[๑๘๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๖๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๑. เหตุทุกะ ๔. อุปาทินนติกะ

[๑๘๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดย อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) [๑๘๓] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๖๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๑. เหตุทุกะ ๕. สังกิลิฏฐติกะ

ปัจจนียุทธาร
[๑๘๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยสหชาต- ปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (ย่อ) [๑๘๕] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ (ย่อ) นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) (พึงนับเหมือนอนุโลม ปัจจนียะ อนุโลมปัจจนียะ และปัจจนียานุโลมแห่ง ปัญหาวารในกุสลติกะที่นับไว้แล้ว)
เหตุทุกะและอุปาทินนติกะ จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๔ หน้าที่ ๕๒-๖๗. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=44&siri=4              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=44&A=1121&Z=1421                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=44&i=184              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=44&item=184&items=46              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=44&item=184&items=46                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu44



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :