ปริตตัตติกนปริตัตติกะ
[๙๑] ธรรมที่ไม่ใช่ปริตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่มหัคคตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่ปริตตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นปริตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่มหัคคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นปริตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๕ นัย
[๙๒] ธรรมที่ไม่ใช่มหัคคตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่ปริตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่ปริตตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นมหัคคต-
*ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่มหัคคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นมหัคคต-
*ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๕ นัย
[๙๓] ธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่ปริตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่มหัคคตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่มหัคคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณธรรม อาศัยธรรมที่เป็น
อัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่ปริตตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่มหัคคตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นอัปปมาณ-
*ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๕ นัย
[๙๔] ธรรมที่ไม่ใช่มหัคคตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นปริตตธรรม และธรรมที่เป็น
อัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นปริตตธรรม และธรรมที่เป็นอัปปมาณ-
*ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่มหัคคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นปริตต-
*ธรรม และธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๙๕] ธรรมที่ไม่ใช่ปริตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นปริตตธรรม และธรรมที่เป็นมหัคคต-
*ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่มหัคคตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นปริตตธรรม และธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นปริตตธรรม และธรรมที่เป็นมหัคคต-
*ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่ปริตตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นปริตตธรรม
และธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่มหัคคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นปริตต-
*ธรรม และธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๕ นัย
[๙๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๒๓
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๑๔ ฯลฯ
พึงให้พิสดารทุกวาร
ปริตตารัมมณัตติกนปริตตารัมมณัตติกะ
[๙๗] ธรรมที่ไม่ใช่ปริตตารัมมณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
[๙๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๙ ฯลฯ
ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๙
หีนัตติกนหีนัตติกะ
[๙๙] ธรรมที่ไม่ใช่หีนธรรม อาศัยธรรมที่เป็นหีนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
เหมือนกับสังกิลิฏฐสังกิเลสิกัตติกะ
[๑๐๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๙ ฯลฯ
ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๙
มิจฉัตตัตติกนมิจฉัตตัตติกะ
[๑๐๑] ธรรมที่ไม่ใช่มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ-
*เหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่อนิยตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่สัมมัตตนิยตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อนิยตธรรม อาศัยธรรมที่เป็น
มิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่มิจฉัตตนิยตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยธรรมที่เป็น
มิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๕ นัย
[๑๐๒] ธรรมที่ไม่ใช่สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่อนิยตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่มิจฉัตตนิยตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อนิยตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสัมมัตต-
*นิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่มิจฉัตตนิยตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยธรรมที่เป็น
สัมมัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๕ นัย
[๑๐๓] ธรรมที่ไม่ใช่มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๑๐๔] ธรรมที่ไม่ใช่มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม และ
ธรรมที่เป็นอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๑๐๕] ธรรมที่ไม่ใช่มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม และธรรม
ที่เป็นอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๑๐๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๙ ฯลฯ
พึงให้พิสดารทุกวาร
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๕ บรรทัดที่ ๓๙๒๗-๔๐๐๖ หน้าที่ ๑๕๗-๑๖๐.
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=45&A=3927&Z=4006&pagebreak=0
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/r.php?B=45&A=3927&pagebreak=0
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :-
http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=45&siri=48
ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=45&i=611
พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=45&A=3171
The Pali Tipitaka in Roman :-
http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=45&A=3171
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๕
http://84000.org/tipitaka/read/?index_45
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖.
บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙.
บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐.
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com
