ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ  พระวินัยปิฎก  พระสุตตันตปิฎก  พระอภิธรรมปิฎก  ค้นพระไตรปิฎก  ชาดก  หนังสือธรรมะ 
พระไตรปิฎก
 หน้า
 แสดง
หน้า
พระไตรปิฏกเล่มที่ ๒๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต

หน้าที่ ๑๘๐.


                                                                 พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต ๘. วินยวรรค รวมพระสูตรที่มีในวรรค

๕. สงฆ์พึงให้เยภุยยสิกา ๖. สงฆ์พึงให้ตัสสปาปิยสิกา ๗. สงฆ์พึงให้ติณวัตถารกะ ภิกษุทั้งหลาย อธิกรณสมถธรรม ๗ ประการนี้แล เพื่อระงับเพื่อดับอธิกรณ์ ที่เกิดขึ้นแล้วๆ
อธิกรณสมถสูตรที่ ๑๐ จบ
วินยวรรคที่ ๘ จบ
รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ
๑. ปฐมวินยธรสูตร ๒. ทุติยวินยธรสูตร ๓. ตติยวินยธรสูตร ๔. จตุตถวินยธรสูตร ๕. ปฐมวินยธรโสภณสูตร ๖. ทุติยวินยธรโสภณสูตร ๗. ตติยวินยธรโสภณสูตร ๘. จตุตถวินยธรโสภณสูตร ๙. สัตถุสาสนสูตร ๑๐. อธิกรณสมถสูตร @เชิงอรรถ : @เยภุยยสิกา หมายถึงวิธีระงับอธิกรณ์โดยตัดสินตามเสียงข้างมาก สงฆ์จะใช้วิธีการนี้ในกรณีที่บุคคลหลาย @ฝ่ายมีความเห็นไม่ตรงกัน @ตัสสปาปิยสิกา หมายถึงวิธีระงับอธิกรณ์โดยตัดสินลงโทษแก่ผู้กระทำผิด เมื่อสงฆ์พิจารณาตามหลักฐาน @พยานแล้วเห็นว่ามีความผิดจริง แม้เธอจะไม่รับสารภาพก็ตาม @ติณวัตถารกะ หมายถึงวิธีระงับอธิกรณ์โดยให้ทั้ง ๒ ฝ่ายประนีประนอมกัน เปรียบเหมือนเอาหญ้ากลบไว้ @ไม่ต้องชำระสะสางความ วิธีนี้ใช้ระงับอธิกรณ์ที่ยุ่งยาก เช่น กรณีพิพาทกันของภิกษุชาวกรุงโกสัมพี @ดู กงฺขา.ฏีกา ๔๗๐ (วิ.อ. ๓/๑๙๕/๒๙๒-๒๙๓, ๒๐๒/๒๙๓, ๒๐๗/๒๙๔, ๒๑๒/๒๙๔-๒๙๕, @๓๔๐/๔๘๗, ๔๘๓/๕๔๘) และดู วิ.จู. ๖/๑๘๕-๒๑๒/๒๑๘-๒๔๓, วิ.ป. ๘/๒๗๕/๒๑๐ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๒๓ หน้า : ๑๘๐}

เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับ มจร. เล่มที่ ๒๓ หน้าที่ ๑๘๐. https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/read_page.php?book=23&page=180&pages=1&edition=mcu ศึกษาพระสูตร (เนื้อความ) นี้แยกตามสารบัญ :- https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_read.php?B=23&A=4934 https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_line.php?B=23&A=4934#p180 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ 23 :- https://84000.org/tipitaka/read/?index_23 https://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu23 https://84000.org/tipitaka/english/?index_23



จบการแสดงผล หน้าที่ ๑๘๐.

บันทึก ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]