ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับภาษาไทย   บาลีอักษรไทย   บาลีอักษรโรมัน 
แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๔ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑ ธรรมสังคณีปกรณ์
พระอภิธรรมปิฎก
เล่ม ๑
ธรรมสังคณีปกรณ์
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
มาติกา
ติกมาติกา ๒๒ ติกะ
[๑]
๑. กุสลติกะ
กุสลา ธมฺมา ธรรมเป็นกุศล อกุสลา ธมฺมา ธรรมเป็นอกุศล อพฺยากตา ธมฺมา ธรรมเป็นอัพยากฤต
๒. เวทนาติกะ
สุขาย เวทนาย สมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยสุขเวทนา ทุกฺขาย เวทนาย สมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อทุกฺขมสุขาย เวทนาย สมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
๓. วิปากติกะ
วิปากา ธมฺมา ธรรมเป็นวิบาก วิปากธมฺมธมฺมา ธรรมเป็นเหตุแห่งวิบาก เนววิปากนวิปากธมฺมธมฺมา ธรรมไม่เป็นวิบาก และไม่เป็นเหตุแห่งวิบาก
๔. อุปาทินนุปาทานิยติกะ
อุปาทินฺนุปาทานิยา ธมฺมา ธรรมอันเจตนากรรมที่สัมปยุตด้วย ตัณหาทิฏฐิ เข้ายึดครองและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน อนุปาทินฺนุปาทานิยา ธมฺมา ธรรมอันเจตนากรรมที่สัมปยุตด้วย ตัณหาทิฏฐิ ไม่เข้ายึดครองแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน อนุปาทินฺนานุปาทานิยา ธมฺมา ธรรมอันเจตนากรรมที่สัมปยุตด้วย ตัณหาทิฏฐิ ไม่เข้ายึดครองและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน
๕. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกติกะ
สงฺกิลิฏฺฐสงฺกิเลสิกา ธมฺมา ธรรมเศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของสังกิเลส อสงฺกิลิฏฺฐสงฺกิเลสิกา ธมฺมา ธรรมไม่เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส อสงฺกิลิฏฺฐาสงฺกิเลสิกา ธมฺมา ธรรมไม่เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส
๖. วิตักกติกะ
สวิตกฺกสวิจารา ธมฺมา ธรรมมีวิตกมีวิจาร อวิตกฺกวิจารมตฺตา ธมฺมา ธรรมไม่มีวิตกแต่มีวิจาร อวิตกฺกาวิจารา ธมฺมา ธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร
๗. ปีติติกะ
ปีติสหคตา ธมฺมา ธรรมสหรคตด้วยปีติ สุขสหคตา ธมฺมา ธรรมสหรคตด้วยสุขเวทนา อุเปกฺขาสหคตา ธมฺมา ธรรมสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา
๘. ทัสสนติกะ
ทสฺสเนน ปหาตพฺพา ธมฺมา ธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ ภาวนาย ปหาตพฺพา ธมฺมา ธรรมอันมรรคเบื้องสูง ๓ ประหาณ เนว ทสฺสเนน น ภาวนาย ปหาตพฺพา ธรรมอันโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องสูง ๓ ธมฺมา ไม่ประหาณ
๙. ทัสสนเหตุกติกะ
ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา ธรรมมีสัมปยุตตเหตุอันโสดาปัตติมรรคประหาณ ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา ธรรมมีสัมปยุตตเหตุอันมรรคเบื้องสูง ๓ ประหาณ เนว ทสฺสเนน น ภาวนาย ธรรมไม่มีสัมปยุตตเหตุอันโสดาปัตติมรรคและ ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา มรรคเบื้องสูง ๓ ประหาณ
๑๐. อาจยคามิติกะ
อาจยคามิโน ธมฺมา ธรรมเป็นเหตุให้จุติปฏิสนธิ อปจยคามิโน ธมฺมา ธรรมเป็นเหตุให้ถึงนิพพาน เนวาจยคามิโน นาปจยคามิโน ธมฺมา ธรรมไม่เป็นเหตุให้จุติปฏิสนธิและไม่เป็นเหตุ ให้ถึงนิพพาน
๑๑. เสกขติกะ
เสกฺขา ธมฺมา ธรรมเป็นของเสกขบุคคล อเสกฺขา ธมฺมา ธรรมเป็นของอเสกขบุคคล เนวเสกฺขา นาเสกฺขา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นของเสกขบุคคลและไม่เป็นของ อเสกขบุคคล
๑๒. ปริตตติกะ
ปริตฺตา ธมฺมา ธรรมเป็นปริตตะ มหคฺคตา ธมฺมา ธรรมเป็นมหัคคตะ อปฺปมาณา ธมฺมา ธรรมเป็นอัปปมาณะ
๑๓. ปริตตารัมมณติกะ
ปริตฺตารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์เป็นปริตตะ มหคฺคตารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์เป็นมหัคคตะ อปฺปมาณารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์เป็นอัปปมาณะ
๑๔. หีนติกะ
หีนา ธมฺมา ธรรมทราม มชฺฌิมา ธมฺมา ธรรมปานกลาง ปณีตา ธมฺมา ธรรมประณีต
๑๕. มิจฉัตตติกะ
มิจฺฉตฺตนิยตา ธมฺมา ธรรมเป็นมิจฉาสภาวะและให้ผลแน่นอน สมฺมตฺตนิยตา ธมฺมา ธรรมเป็นสัมมาสภาวะและให้ผลแน่นอน อนิยตา ธมฺมา ธรรมให้ผลไม่แน่นอน
๑๖. มัคคารัมมณติกะ
มคฺคารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีมรรคเป็นอารมณ์ มคฺคเหตุกา ธมฺมา ธรรมมีเหตุคือมรรค มคฺคาธิปติโน ธมฺมา ธรรมมีมรรคเป็นอธิบดี
๑๗. อุปปันนติกะ
อุปฺปนฺนา ธมฺมา ธรรมเกิดขึ้นแล้ว อนุปฺปนฺนา ธมฺมา ธรรมยังไม่เกิดขึ้น อุปฺปาทิโน ธมฺมา ธรรมจักเกิดขึ้น
๑๘. อตีตติกะ
อตีตา ธมฺมา ธรรมเป็นอดีต อนาคตา ธมฺมา ธรรมเป็นอนาคต ปจฺจุปฺปนฺนา ธมฺมา ธรรมเป็นปัจจุบัน
๑๙. อตีตารัมมณติกะ
อตีตารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์เป็นอดีต อนาคตารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์เป็นอนาคต ปจฺจุปฺปนฺนารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์เป็นปัจจุบัน
๒๐. อัชฌัตตติกะ
อชฺฌตฺตา ธมฺมา ธรรมเป็นภายใน พหิทฺธา ธมฺมา ธรรมเป็นภายนอก อชฺฌตฺตพหิทฺธา ธมฺมา ธรรมเป็นทั้งภายในและภายนอก
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ
อชฺฌตฺตารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์เป็นภายใน พหิทฺธารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์เป็นภายนอก อชฺฌตฺตพหิทฺธารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์เป็นภายในและเป็นภายนอก
๒๒. สนิทัสสนติกะ
สนิทสฺสนสปฺปฏิฆา ธมฺมา ธรรมที่เห็นได้และกระทบได้ อนิทสฺสนสปฺปฏิฆา ธมฺมา ธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ อนิทสฺสนาปฺปฏิฆา ธมฺมา ธรรมที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้
ติกมาติกา ๒๒ ติกะ จบ
-----------------------------------------------------
ทุกมาติกา ๑๔๒ ทุกะ
อภิธรรมมาติกา ๑๐๐ ทุกะ
เหตุโคจฉกะ
หมวดที่ ๑ มี ๖ ทุกะ คือ
[๒]
๑. เหตุทุกะ
เหตู ธมฺมา ธรรมเป็นเหตุ นเหตู ธมฺมา ธรรมไม่เป็นเหตุ
๒. สเหตุทุกะ
สเหตุกา ธมฺมา ธรรมมีเหตุ อเหตุกา ธมฺมา ธรรมไม่มีเหตุ
๓. เหตุสัมปยุตตทุกะ
เหตุสมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยเหตุ เหตุวิปฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากเหตุ
๔. เหตุสเหตุกทุกะ
เหตู เจว ธมฺมา สเหตุกา จ ธรรมเป็นเหตุและมีเหตุ สเหตุกา เจว ธมฺมา น จ เหตู ธรรมมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ
๕. เหตุเหตุสัมปยุตตทุกะ
เหตู เจว ธมฺมา เหตุสมฺปยุตฺตา จ ธรรมเป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ เหตุสมฺปยุตฺตา เจว ธมฺมา น จ เหตู ธรรมสัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ
๖. นเหตุสเหตุกทุกะ
น เหตู โข ปน ธมฺมา สเหตุกาปิ ธรรมไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุ (น เหตู โข ปน ธมฺมา) อเหตุกาปิ ธรรมไม่เป็นเหตุและไม่มีเหตุ
จูฬันตรทุกะ
หมวดที่ ๒ มี ๗ ทุกะ คือ
[๓]
๗-๑. สัปปัจจยทุกะ
สปฺปจฺจยา ธมฺมา ธรรมมีปัจจัย อปฺปจฺจยา ธมฺมา ธรรมไม่มีปัจจัย
๘-๒. สังขตทุกะ
สงฺขตา ธมฺมา ธรรมเป็นสังขตะ อสงฺขตา ธมฺมา ธรรมเป็นอสังขตะ
๙-๓. สนิทัสสนทุกะ
สนิทสฺสนา ธมฺมา ธรรมที่เห็นได้ อนิทสฺสนา ธมฺมา ธรรมที่เห็นไม่ได้
๑๐-๔. สัปปฏิฆทุกะ
สปฺปฏิฆา ธมฺมา ธรรมที่กระทบได้ อปฺปฏิฆา ธมฺมา ธรรมที่กระทบไม่ได้
๑๑-๕. รูปิทุกะ
รูปิโน ธมฺมา ธรรมเป็นรูป อรูปิโน ธมฺมา ธรรมไม่เป็นรูป
๑๒-๖. โลกิยทุกะ
โลกิยา ธมฺมา ธรรมเป็นโลกิยะ โลกุตฺตรา ธมฺมา ธรรมเป็นโลกุตตระ
๑๓-๗. เกนจิวิญเญยยทุกะ
เกนจิ วิญฺเญยฺยา ธมฺมา ธรรมที่จิตบางอย่างรู้ได้ เกนจิ น วิญฺเญยฺยา ธมฺมา ธรรมที่จิตบางอย่างรู้ไม่ได้
อาสวโคจฉกะ
หมวดที่ ๓ มี ๖ ทุกะ คือ
[๔]
๑๔-๑. อาสวทุกะ
อาสวา ธมฺมา ธรรมเป็นอาสวะ โน อาสวา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นอาสวะ
๑๕-๒. สาสวทุกะ
สาสวา ธมฺมา ธรรมเป็นอารมณ์ของอาสวะ อนาสวา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ
๑๖-๓. อาสวสัมปยุตตทุกะ
อาสวสมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยอาสวะ อาสววิปฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากอาสวะ
๑๗-๔. อาสวสาสวทุกะ
อาสวา เจว ธมฺมา สาสวา จ ธรรมเป็นอาสวะ และเป็นอารมณ์ของอาสวะ สาสวา เจว ธมฺมา โน จ อาสวา ธรรมเป็นอารมณ์ของอาสวะ แต่ไม่เป็นอาสวะ
๑๘-๕. อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ
อาสวา เจว ธมฺมา อาสว สมฺปยุตตา จ ธรรมเป็นอาสวะ และสัมปยุตด้วยอาสวะ อาสวสมฺปยุตฺตา เจว ธมฺมา โน จ อาสวา ธรรมสัมปยุตด้วยอาสวะ แต่ไม่เป็นอาสวะ
๑๙-๖. อาสววิปปยุตตสาสวทุกะ
อาสววิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา สาสวาปิ ธรรมวิปปยุตจากอาสวะ แต่เป็นอารมณ์ ของอาสวะ (อาสววิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา) ธรรมวิปปยุตจากอาสวะ และไม่เป็นอารมณ์ อนาสวาปิ ของอาสวะ
สัญโญชนโคจฉกะ
หมวดที่ ๔ มี ๖ ทุกะ คือ
[๕]
๒๐-๑. สัญโญชนทุกะ
สญฺโญชนา ธมฺมา ธรรมเป็นสัญโญชน์ โน สญฺโญชนา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นสัญโญชน์
๒๑-๒. สัญโญชนิยทุกะ
สญฺโญชนิยา ธมฺมา ธรรมเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์ อสญฺโญชนิยา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์
๒๒-๓. สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ
สญฺโญชนสมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์ สญฺโญชนวิปฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์
๒๓-๔. สัญโญชนสัญโญชนิยทุกะ
สญฺโญชนา เจว ธมฺมา สญฺโญชนิยา จ ธรรมเป็นสัญโญชน์ และเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์ สญฺโญชนิยา เจว ธมฺมา โน จ สญฺโญชนา ธรรมเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์ แต่ไม่เป็นสัญโญชน์
๒๔-๕. สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ
สญฺโญชนา เจว ธมฺมา ธรรมเป็นสัญโญชน์และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์ สญฺโญชนสมฺปยุตฺตา จ สญฺโญชนสมฺปยุตฺตา เจว ธมฺมา โน ธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์ แต่ไม่เป็นสัญโญชน์ จ สญฺโญชนา
๒๕-๖. สัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนิยทุกะ
สญฺโญชนวิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์ แต่เป็นอารมณ์ สญฺโญชนิยาปิ ของสัญโญชน์ (สญฺโญชนวิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา) ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์ และไม่เป็นอารมณ์ อสญฺโญชนิยาปิ ของสัญโญชน์
คันถโคจฉกะ
หมวดที่ ๕ มี ๖ ทุกะ คือ
[๖]
๒๖-๑. คันถทุกะ
คนฺถา ธมฺมา ธรรมเป็นคันถะ โน คนฺถา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นคันถะ
๒๗-๒. คันถนิยทุกะ
คนฺถนิยา ธมฺมา ธรรมเป็นอารมณ์ของคันถะ อคนฺถนิยา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของคันถะ
๒๘-๓. คันถสัมปยุตตทุกะ
คนฺถสมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยคันถะ คนฺถวิปฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากคันถะ
๒๙-๔. คันถคันถนิยทุกะ
คนฺถา เจว ธมฺมา คนฺถนิยา จ ธรรมเป็นคันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะ คนฺถนิยา เจว ธมฺมา โน จ คนฺถา ธรรมเป็นอารมณ์ของคันถะ แต่ไม่เป็นคันถะ
๓๐-๕. คันถคันถสัมปยุตตทุกะ
คนฺถา เจว ธมฺมา คนฺถสมฺปยุตฺตา จ ธรรมเป็นคันถะ และสัมปยุตด้วยคันถะ คนฺถสมฺปยุตฺตา เจว ธมฺมา โน ธรรมสัมปยุตด้วยคันถะ แต่ไม่เป็นคันถะ จ คนฺถา
๓๑-๖. คันถวิปปยุตตคันถนิยทุกะ
คนฺถวิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากคันถะ แต่เป็นอารมณ์ของคันถะ คนฺถนิยาปี (คนฺถวิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา) ธรรมวิปปยุตจากคันถะ และไม่เป็นอารมณ์ อคนฺถนิยาปี ของคันถะ
โอฆโคจฉกะ
หมวดที่ ๖ มี ๖ ทุกะ คือ
[๗]
๓๒-๑. โอฆทุกะ
โอฆา ธมฺมา ธรรมเป็นโอฆะ โน โอฆา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นโอฆะ
๓๓-๒. โอฆนิยทุกะ
โอฆนิยา ธมฺมา ธรรมเป็นอารมณ์ของโอฆะ อโนฆนิยา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของโอฆะ
๓๔-๓. โอฆสัมปยุตตทุกะ
โอฆสมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยโอฆะ โอฆวิปฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากโอฆะ
๓๕-๔. โอฆโอฆนิยทุกกะ
โอฆา เจว ธมฺมา โอฆนิยา จ ธรรมเป็นโอฆะและเป็นอารมณ์ของโอฆะ โอฆนิยา เจว ธมฺมา โน จ โอฆา ธรรมเป็นอารมณ์ของโอฆะแต่ไม่เป็นโอฆะ
๓๖-๕. โอฆโอฆสัมปยุตตทุกะ
โอฆา เจว ธมฺมา โอฆสมฺปยุตฺตา จ ธรรมเป็นโอฆะ และสัมปยุตด้วยโอฆะ โอฆสมฺปยุตฺตา เจว ธมฺมา โน จ ธรรมสัมปยุตด้วยโอฆะ แต่ไม่เป็นโอฆะ โอฆา
๓๗-๖. โอฆวิปปยุตตโอฆนิยทุกะ
โอฆวิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากโอฆะ แต่เป็นอารมณ์ของโอฆะ โอฆนิยาปิ (โอฆวิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา) ธรรมวิปปยุตจากโอฆะ และไม่เป็นอารมณ์ อโนฆนิยาปิ ของโอฆะ
โยคโคจฉกะ
หมวดที่ ๗ มี ๖ ทุกะ คือ
[๘]
๓๘-๑. โยคทุกะ
โยคา ธมฺมา ธรรมเป็นโยคะ โน โยคา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นโยคะ
๓๙-๒. โยคนิยทุกะ
โยคนิยา ธมฺมา ธรรมเป็นอารมณ์ของโยคะ อโยคนิยา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของโยคะ
๔๐-๓. โยคสัมปยุตตทุกะ
โยคสมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยโยคะ โยควิปฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากโยคะ
๔๑-๔. โยคโยคนิยทุกะ
โยคา เจว ธมฺมา โยคนิยา จ ธรรมเป็นโยคะ และเป็นอารมณ์ของโยคะ โยคนิยา เจว ธมฺมา โน จ โยคา ธรรมเป็นอารมณ์ของโยคะ แต่ไม่เป็นโยคะ
๔๒-๕. โยคโยคสัมปยุตตทุกะ
โยคา เจว ธมฺมา โยคสมฺปยุตฺตา จ ธรรมเป็นโยคะ และสัมปยุตด้วยโยคะ โยคสมฺปยุตฺตา เจว ธมฺมา โน จ โยคา ธรรมสัมปยุตด้วยโยคะ แต่ไม่เป็นโยคะ
๔๓-๖. โยควิปปยุตตโยคนิยทุกะ
โยควิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากโยคะ แต่เป็นอารมณ์ของโยคะ โยคนิยาปิ (โยควิปฺปยุตฺตา โข ธมฺมา) ธรรมวิปปยุตจากโยคะ และไม่เป็นอารมณ์ อโยคนิยาปิ ของโยคะ
นีวรณโคจฉกะ
หมวดที่ ๘ มี ๖ ทุกะ คือ
[๙]
๔๔-๑. นีวรณทุกะ
นีวรณา ธมฺมา ธรรมนิวรณ์ โน นีวรณา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นนิวรณ์
๔๕-๒. นีวรณิยทุกะ
นีวรณิยา ธมฺมา ธรรมเป็นอารมณ์ของนิวรณ์ อนีวรณิยา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์
๔๖-๓. นีวรณสัมปยุตตทุกะ
นีวรณสมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยนิวรณ์ นีวรณวิปฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์
๔๗-๔. นีวรณนีวรณิยทุกะ
นีวรณา เจว ธมฺมา นีวรณิยา จ ธรรมเป็นนิวรณ์ และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์ นีวรณิยา เจว ธมฺมา โน จ นีวรณา ธรรมเป็นอารมณ์ของนิวรณ์ แต่ไม่เป็นนิวรณ์
๔๘-๕. นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ
นีวรณา เจว ธมฺมา นิวรณสมฺปยุตฺตา จ ธรรมเป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์ นีวรณสมฺปยุตฺตา เจว ธมฺมา โน จ นีวรณา ธรรมสัมปยุตด้วยนิวรณ์ แต่ไม่เป็นนิวรณ์
๔๙-๖. นีวรณวิปปยุตตนีวรณิยทุกะ
นีวรณวิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์ แต่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์ นีวรณิยาปิ (นีวรณวิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา) ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์ และไม่เป็นอารมณ์ของ อนีวรณิยาปิ นิวรณ์
ปรามาสโคจฉกะ
หมวดที่ ๙ มี ๕ ทุกะ คือ
[๑๐]
๕๐-๑. ปรามาสทุกะ
ปรามาสา ธมฺมา ธรรมเป็นปรามาสะ (ทิฏฐิ) โน ปรามาสา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นปรามาสะ
๕๑-๒. ปรามัฏฐทุกะ
ปรามฏฺฐา ธมฺมา ธรรมเป็นอารมณ์ของปรามาสะ อปรามฏฺฐา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสะ
๕๒-๓. ปรามาสสัมปยุตตทุกะ
ปรามาสสมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยปรามาสะ ปรามาสวิปฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากปรามาสะ
๕๓-๔. ปรามาสปรามัฏฐทุกะ
ปรามาสา เจว ธมฺมา ปรามฏฺฐา จ ธรรมเป็นปรามาสะ และเป็นอารมณ์ของปรามาสะ ปรามฏฺฐา เจว ธมฺมา โน จ ปรามาสา ธรรมเป็นอารมณ์ของปรามาสะ แต่ไม่เป็นของ ปรามาสะ
๕๔-๕. ปรามาสวิปปยุตตปรามัฏฐทุกะ
ปรามาสวิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากปรามาสะ แต่เป็นอารมณ์ ปรามฏฺฐาปิ ปรามาสะ (ปรามาสวิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา) ธรรมวิปปยุตจากปรามาสะ และไม่เป็นอารมณ์ อปรามฏฺฐาปี ของปรามาสะ
มหันตรทุกะ
หมวดที่ ๑๐ มี ๑๔ ทุกะ คือ
[๑๑]
๕๕-๑. สารัมมณทุกะ
สารมฺมณา ธมฺมา ธรรมมีอารมณ์ อนารมฺมณา ธมฺมา ธรรมไม่มีอารมณ์
๕๖-๒. จิตตทุกะ
จิตฺตา ธมฺมา ธรรมเป็นจิต โน จิตฺตา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นจิต
๕๗-๓. เจตสิกทุกะ
เจตสิกา ธมฺมา ธรรมเป็นเจตสิก อเจตสิกา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นเจตสิก
๕๘-๔. จิตตสัมปยุตตทุกะ
จิตฺตสมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยจิต จิตฺตวิปฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากจิต
๕๙-๕. จิตตสังสัฏฐทุกะ
จิตฺตสํสฏฺฐา ธมฺมา ธรรมเจือกับจิต จตฺตวิสํสฏฺฐา ธมฺมา ธรรมไม่เจือกับจิต
๖๐-๖. จิตตสมุฏฐานทุกะ
จิตฺตสมุฏฺฐานา ธมฺมา ธรรมมีจิตเป็นสมุฏฐาน โน จิตฺตสมุฏฺฐานา ธมฺมา ธรรมไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
๖๑-๗. จิตตสหภูทุกะ
จิตฺตสหภุโน ธมฺมา ธรรมเกิดร่วมกับจิต โน จิตฺตสหภุโน ธมฺมา ธรรมไม่เกิดร่วมกับจิต
๖๒-๘. จิตตานุปริวัตติทุกะ
จิตฺตานุปริวตฺติโน ธมฺมา ธรรมเกิดคล้อยตามจิต โน จิตฺตานุปริวตฺติโน ธมฺมา ธรรมไม่เกิดคล้อยตามจิต
๖๓-๙. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ
จิตฺตสํสฏฺฐสมุฏฺฐานา ธมฺมา ธรรมเจือกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน โน จิตฺตสํสฏฺฐสมุฏฺฐานา ธมฺมา ธรรมไม่เจือกับจิตและไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
๖๔-๑๐. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูทุกะ
จิตฺตสํสฏฺฐสมุฏฺฐานสหภุโน ธมฺมา ธรรมเจือกับจิต มีจิตเป็นสมุฏฐาน และเกิดร่วม กับจิต โน จิตฺตสํสฏฺฐสมุฏฺฐานสหภุโน ธรรมไม่เจือกับจิต ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน และ ธมฺมา ไม่เกิดร่วมกับจิต
๖๕-๑๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติทุกะ
จิตฺตสํสฏฺฐสมุฏฺฐานานุปริวตฺติโน ธมฺมา ธรรมเจือกับจิตเป็นสมุฏฐานและเกิดคล้อยตามจิต โน จิตฺตสํสฏฺฐสมุฏฺฐานานุปริวตฺติ โน ธรรมไม่เจือกับจิต ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน และ ธมฺมา ไม่เกิดคล้อยตามจิต
๖๖-๑๒. อัชฌัตติกทุกะ
อชฺฌตฺติกา ธมฺมา ธรรมเป็นภายใน พาหิรา ธมฺมา ธรรมเป็นภายนอก
๖๗-๑๓. อุปาทาทุกะ
อุปาทา ธมฺมา ธรรมอาศัยมหาภูตรูปเกิด โน อุปาทา ธมฺมา ธรรมไม่อาศัยมหาภูตรูปเกิด
๖๘-๑๔. อุปาทินนทุกะ
อุปาทินฺนา ธมฺมา ธรรมอันเจตนากรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหา ทิฏฐิ เข้ายึดครอง อนุปาทินฺนา ธมฺมา ธรรมอันเจตนากรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหา ทิฏฐิ ไม่เข้ายึดครอง
อุปาทานโคจฉกะ
หมวดที่ ๑๑ มี ๖ ทุกะ คือ
[๑๒]
๖๙-๑. อุปาทานทุกะ
อุปาทานา ธมฺมา ธรรมเป็นอุปาทาน โน อุปาทานา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นอุปาทาน
๗๐-๒. อุปาทานิยทุกะ
อุปาทานิยา ธมฺมา ธรรมเป็นอารมณ์ของอุปาทาน อนุปาทานิยา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน
๗๑-๓. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ
อุปาทานสมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทาน อุปาทานวิปฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากอุปาทาน
๗๒-๔. อุปาทานอุปาทานิยทุกะ
อุปาทานา เจว ธมฺมา อุปาทานิยา จ ธรรมเป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน อุปาทานิยา เจว ธมฺมา โน จ ธรรมเป็นอารมณ์ของอุปาทาน แต่ไม่เป็นอุปาทาน อุปาทานา
๗๓-๕. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ
อุปาทานา เจว ธมฺมา อุปาทาน- ธรรมเป็นอุปาทาน และสัมปยุตด้วยอุปาทาน สมฺปยุตฺตา จ อุปาทานสมฺปยุตฺตา เจว ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทาน แต่ไม่เป็นอุปาทาน โน จ อุปาทานา
๗๔-๖. อุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยทุก
อุปาทานวิปฺปยุตฺตา โข ปน ธรรมวิปปยุตจากอุปาทาน แต่เป็นอารมณ์ ธมฺมา อุปาทานิยาปิ ของอุปาทาน (อุปาทานวิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา) ธรรมวิปปยุตจากอุปาทาน และไม่เป็น อนุปาทานิยาปิ อารมณ์ของอุปาทาน
กิเลสโคจฉกะ
หมวดที่ ๑๒ มี ๘ ทุกะ คือ
[๑๓]
๗๕-๑. กิเลสทุกะ
กิเลสา ธมฺมา ธรรมเป็นกิเลส โน กิเลสา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นกิเลส
๗๖-๒. สังกิเลสิกทุกะ
สงฺกิเลสิกา ธมฺมา ธรรมเป็นอารมณ์ของสังกิเลส อสงฺกิเลสิกา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส
๗๗-๓. สังกิลิฏฐทุกะ
สงฺกิลิฏฐา ธมฺมา ธรรมเศร้าหมอง อสงฺกิลิฏฐา ธมฺมา ธรรมไม่เศร้าหมอง
๗๘-๔. กิเลสสัมปยุตตทุกะ
กิเลสสมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยกิเลส กิเลสวิปฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากกิเลส
๗๙-๕. กิเลสสังกิเลสิกทุกะ
กิเลสา เจว ธมฺมา สงฺกิเลสิกา จ ธรรมเป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของสังกิเลส สงฺกิเลสิกา เจว ธมฺมา โน จ กิเลสา ธรรมเป็นอารมณ์ของสังกิเลส แต่ไม่เป็นกิเลส
๘๐-๖. กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ
กิเลสา เจว สงฺกิลิฏฺฐา จ ธรรมเป็นกิเลสและเศร้าหมอง สงฺกิลิฏฺฐา เจว ธมฺมา โน จ กิเลสา ธรรมเศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส
๘๑-๗. กิเลสกิเลสสัมปยุตตทุกะ
กิเลสา เจว ธมฺมา กิเลสสมฺปยุตฺตา จ ธรรมเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส กิเลสสมฺปยุตฺตา เจว ธมฺมา โน จ กิเลสา ธรรมสัมปยุตด้วยกิเลส แต่ไม่เป็นกิเลส
๘๒-๘. กิเลสวิปปยุตตสังกิเลสิกทุกะ
กิเลสวิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา ธรรมวิปปยุตจากกิเลส แต่เป็นอารมณ์ของ สงฺกิเลสิกาปิ สังกิเลส (กิเลสวิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา) ธรรมวิปปยุตจากกิเลส และไม่เป็นอารมณ์ของ อสงฺกิเลสิกาปิ สังกิเลส
ปิฏฐิทุกะ
หมวดที่ ๑๓ มี ๑๘ ทุกะ คือ
[๑๔]
๘๓-๑. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ
ทสฺสเนน ปหาตพฺพา ธมฺมา ธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ น ทสฺสเนน ปหาตพฺพา ธมฺมา ธรรมอันโสดาปัตติมรรคไม่ประหาณ
๘๔-๒. ภาวนายปหาตัพพทุกะ
ภาวนาย ปหาตพฺพา ธมฺมา ธรรมอันมรรคเบื้องสูง ๓ ประหาณ น ภาวนาย ปหาตพฺพา ธมฺมา ธรรมอันมรรคเบื้องสูง ๓ ไม่ประหาณ
๘๕-๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ
ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา ธรรมมีสัมปยุตตเหตุอันโสดาปัตติมรรคประหาณ น ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา ธรรมไม่มีสัมปยุตตเหตุอันโสดาปัตติมรรคจะ ประหาณ
๘๖-๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกทุกะ
ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา ธรรมมีสัมปยุตตเหตุอันมรรคเบื้องสูง ๓ ประหาณ น ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา ธรรมไม่มีสัมปยุตตเหตุอันมรรคเบื้องสูง ๓ จะ ประหาณ
๘๗-๕. สวิตักกทุกะ
สวิตกฺกา ธมฺมา ธรรมมีวิตก อวิตกฺกา ธมฺมา ธรรมไม่มีวิตก
๘๘-๖. สวิจารทุกะ
สวิจารา ธมฺมา ธรรมมีวิจาร อวิจารา ธมฺมา ธรรมไม่มีวิจาร
๘๙-๗. สัปปืติกทุกะ
สปฺปีติกา ธมฺมา ธรรมมีปีติ อปฺปีติกา ธมฺมา ธรรมไม่มีปีติ
๙๐-๘. ปืติสหคตทุกะ
ปีติสหคตา ธมฺมา ธรรมสหรคตด้วยปีติ น ปีติสคตา ธมฺมา ธรรมไม่สหรคตด้วยปีติ
๙๑-๙. สุขสหคตทุกะ
สุขสหคตา ธมฺมา ธรรมสหรคตด้วยสุขเวทนา น สุขสหคตา ธมฺมา ธรรมไม่สหรคตด้วยสุขเวทนา
๙๒-๑๐. อุเปกขาสหคตทุกะ
อุเปกฺขาสหคตา ธมฺมา ธรรมสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา น อุเปกฺขาสหคตา ธมฺมา ธรรมไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา
๙๓-๑๑. กามาวจรทุกะ
กามาวจรา ธมฺมา ธรรมเป็นกามาวจร น กามาวจรา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นกามาวจร
๙๔-๑๒. รูปาวจรทุกะ
รูปาวจรา ธมฺมา ธรรมเป็นรูปาวจร น รูปาวจรา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นรูปาวจร
๙๕-๑๓. อรูปาวจรทุกะ
อรูปาวจรา ธมฺมา ธรรมเป็นอรูปาวจร น อรูปาวจรา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นอรูปาวจร
๙๖-๑๔. ปริยาปันนทุกะ
ปริยาปนฺนา ธมฺมา ธรรมเป็นปริยาปันนะ อปริยาปนฺนา ธมฺมา ธรรมเป็นอปริยาปันนะ
๙๗-๑๕. นิยยานิกทุกะ
นิยฺยนิกา ธมฺมา ธรรมเป็นเหตุนำออกจากสังสารวัฏ อนิยฺยานิกา ธมฺมา ธรรมไม่เป็นเหตุนำออกจากสังสารวัฏ
๙๘-๑๖. นิยตทุกะ
นิยตา ธมฺมา ธรรมให้ผลแน่นอน อนิยตา ธมฺมา ธรรมให้ผลไม่แน่นอน
๙๙-๑๗. สอุตตรทุกะ
สอุตฺตรา ธมฺมา ธรรมมีธรรมอื่นยิ่งกว่า อนุตฺตรา ธมฺมา ธรรมไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า
๑๐๐-๑๘. สรณทุกะ
สรณา ธมฺมา ธรรมเกิดกับกิเลส อรณา ธมฺมา ธรรมไม่เกิดกับกิเลส
อภิธรรมมาติกา ๑๐๐ ทุกะ จบ
-----------------------------------------------------
สุตตันตมาติกา ๔๒ ทุกะ
[๑๕]
๑. วิชชาภาคีทุกะ
วิชฺชาภาคิโน ธมฺมา ธรรมเป็นไปในส่วนวิชชา อวิชฺชาภาคิโน ธมฺมา ธรรมเป็นไปในส่วนอวิชชา
๒. วิชชูปมทุกะ
วิชฺชูปมา ธมฺมา ธรรมเหมือนฟ้าแลบ วชิรูปมา ธมฺมา ธรรมเหมือนฟ้าผ่า
๓. พาลทุกะ
พาลา ธมฺมา ธรรมทำให้เป็นพาล ปณฺฑิตา ธมฺมา ธรรมทำให้เป็นบัณฑิต
๔. กัณหทุกะ
กณฺหา ธมฺมา ธรรมดำ สุกฺกา ธมฺมา ธรรมขาว
๕. ตปนิยทุกะ
ตปนิยา ธมฺมา ธรรมทำให้เร่าร้อน อตปนิยา ธมฺมา ธรรมไม่ทำให้เร่าร้อน
๖. อธิวจนทุกะ
อธิวจนา ธมฺมา ธรรมเป็นชื่อ อธิวจนปถา ธมฺมา ธรรมเป็นเหตุของธรรมเป็นชื่อ
๗. นิรุตติทุกะ
นิรุตฺติ ธมฺมา ธรรมเป็นนิรุตติ นิรุตฺติปถา ธมฺมา ธรรมเป็นเหตุของธรรมเป็นนิรุตติ
๘. ปัญญัติติทุกะ
ปญฺญตฺติ ธมฺมา ธรรมเป็นบัญญัติ ปญฺญตฺติปถา ธมฺมา ธรรมเป็นเหตุของธรรมเป็นบัญญัติ
๙. นามรูปทุกะ
นามญฺจ นามธรรม รูปญฺจ รูปธรรม
๑๐. อวิชชาทุกะ
อวิชฺชา จ ความไม่รู้แจ้ง ภวตณฺหา จ ความปรารถนาภพ
๑๑. ภวทิฏฐิทุกะ
ภวทิฏฺฐิ จ ความเห็นว่าเกิด วิภวทิฏฺฐิ จ ความเห็นว่าไม่เกิด
๑๒. สัสสตทิฏฐิทุกะ
สสฺสตทิฏฺฐิ จ ความเห็นว่าเที่ยง อุจฺเฉททิฏฺฐิ จ ความเห็นว่าสูญ
๑๓. อันตวาทิฏฐิทุกะ
อนฺตวาทิฏฺฐิ จ ความเห็นว่ามีที่สุด อนนฺตวาทิฏฺฐิ จ ความเห็นว่าไม่มีที่สุด
๑๔. ปุพพันตานุทิฏฐิทุกะ
ปุพฺพนฺตานุทิฏฺฐิ จ ความเห็นปรารภส่วนอดีต อปรนฺตานุทิฏฺฐิ จ ความเห็นปรารภส่วนอนาคต
๑๕. อหิริกทุกะ
อหิริกญฺจ ความไม่ละอาย อโนตฺตปฺปญฺจ ความไม่เกรงกลัว
๑๖. หิริทุกะ
หิริ จ ความละอาย โอตฺตปฺปญฺจ ความเกรงกลัว
๑๗. โทวจัสสตาทุกะ
โทวจสฺสตา จ ความเป็นผู้ว่ายาก ปาปมิตฺตตา จ ความเป็นผู้มีมิตรชั่ว
๑๘. โสวจัสสตาทุกะ
โสวจสฺสตา จ ความเป็นผู้ว่าง่าย กลฺยาณมิตฺตตา จ ความเป็นผู้มีมิตรดี
๑๙. อาปัตติกุสลตาทุกะ
อาปตฺติกุสลตา จ ความเป็นผู้ฉลาดในอาบัติ อาปตฺติวุฏฺฐานกุสลตา จ ความเป็นผู้ฉลาดในการออกจากอาบัติ
๒๐. สมาปัตติกุสลตาทุกะ
สมาปตฺติกุสลตา จ ความเป็นผู้ฉลาดในสมาบัติ สมาปตฺติวุฏฺฐานกุสลตา จ ความเป็นผู้ฉลาดในการออกจากสมาบัติ
๒๑. ธาตุกุสลตาทุกะ
ธาตุกุสลตา จ ความเป็นผู้ฉลาดในธาตุ มนสิการกุสลตา จ ความเป็นผู้ฉลาดในการพิจารณา
๒๒. อายตนกุสลตาทุกะ
อายตนกุสลตา จ ความเป็นผู้ฉลาดในอายตนะ ปฏิจฺจสมุปฺปาทกุสลตา จ ความเป็นผู้ฉลาดในปฏิจจสมุปบาท
๒๓. ฐานกุสลตาทุกะ
ฐานกุสลตา จ ความเป็นผู้ฉลาดในฐานะ อฏฺฐานกุสลตา จ ความเป็นผู้ฉลาดในอฐานะ
๒๔. อาชชวทุกะ
อาชฺชโว จ ความซื่อตรง มทฺทโว จ ความอ่อนโยน
๒๕. ขันติทุกะ
ขนฺติ จ ความอดทน โสรจฺจญฺ จ ความสงบเสงี่ยม
๒๖. สาขัลยทุกะ
สาขลฺยญฺจ ความเป็นผู้มีวาจาอ่อนหวาน ปฏิสนฺถาโร จ การปฏิสันถาร
๒๗. อินทริยอคุตตทวารตาทุกะ
อินฺทฺริเยสุ อคุตฺตทฺวารตา จ ความเป็นผู้ไม่สำรวมในอินทรีย์ ๖ โภชเน อมตฺตญฺญุตา จ ความเป็นผู้ไม่รู้ประมาณในโภชนาหาร
๒๘. อินทริยคุตตทวารตาทุกะ
อินฺทฺริเยสุ คุตฺตทฺวารตา จ ความเป็นผู้สำรวมในอินทรีย์ ๖ โภชเน มตฺตญฺญุตา จ ความเป็นผู้รู้ประมาณในโภชนาหาร
๒๙. มุฏฐสัจจทุกะ
มุฏฺฐสจฺจญฺจ ความเป็นผู้ไม่มีสติ อสมฺปชญฺญญฺจ ความเป็นผู้ไม่มีสัมปชัญญะ
๓๐. สติทุกะ
สติ จ สติ สมฺปชญฺญญฺจ สัมปชัญญะ
๓๑. ปฏิสังขานพลทุกะ
ปฏิสงฺขานพลญฺจ กำลังคือการพิจารณา ภาวนาพลญฺจ กำลังคือภาวนา
๓๒. สมถฑุกะ
สมโถ จ สมถะ วิปสฺสนา จ วิปัสสนา
๓๓. นิมิตตทุกะ
สมถนิมิตฺตญฺจ นิมิตคือสมถะ ปคฺคาหนิมิตฺตญฺจ นิมิตคือความเพียร
๓๔. ปัคคาหทุกะ
ปคฺคาโห จ ความเพียร อวิกฺเขโป จ ความไม่ฟุ้งซ่าน
๓๕. วิปัตติทุกะ
สีลวิปตฺติ จ ความวิบัติแห่งศีล ทิฏฺฐิวิปตฺติ จ ความวิบัติแห่งทิฏฐิ
๓๖. สัมปทาทุกะ
สีลสมฺปทา จ ความสมบูรณ์แห่งศีล ทิฏฺฐิสมฺปทา จ ความสมบูรณ์แห่งทิฏฐิ
๓๗. วิสุทธิทุกะ
สีลวิสุทฺธิ จ ความหมดจดแห่งศีล ทิฏฺฐิวิสุทฺธิ จ ความหมดจดแห่งทิฏฐิ
๓๘. ทิฏฐิวิสุทธิทุกะ
ทิฏฺฐิวิสุทฺธิ โข ปน ความหมดจดแห่งทิฏฐิ ยถาทิฏฺฐิสฺส จ ปธานํ ความเพียรแห่งบุคคลผู้มีทิฏฐิอันหมดจด
๓๙. สังเวคทุกะ
สํเวโค จ สํเวชนิเยสุ ฐาเนสุ ความสลดใจในฐานะเป็นที่ตั้งแห่งความสลดใจ สํวิคฺคสฺส จ โยนิโส ปธานํ ความพยายามโดยแยบคายของบุคคลผู้มีความ สลดใจ
๔๐. อสันตุฏฐตาทุกะ
อสนฺตุฏฺฐตา จ กุสเลสุ ธมฺเมสุ ความไม่รู้จักอิ่มในกุศลธรรม อปฺปฏิวานิตา จ ปธานสฺมึ ความไม่ท้อถอยในความพยายาม
๔๑. วิชชาทุกะ
วิชฺชา จ ความรู้แจ้ง วิมุตฺติ จ ความหลุดพ้น
๔๒. ขยญาณทุกะ
ขเย ญาณํ ญาณในอริยมรรค อนุปฺปาเท ญาณํ ญาณในอริยผล
สุตตันตมาติกา ๔๒ ทุกะ จบ
มาติกา จบ
-----------------------------------------------------

             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๔ บรรทัดที่ ๑-๕๙๗ หน้าที่ ๑-๒๗. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=34&A=1&Z=597&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=34&item=1&items=15              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=34&item=1&items=15&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=34&item=1&items=15              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=34&item=1&items=15              ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=34&i=1              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๔ https://84000.org/tipitaka/read/?index_34 https://84000.org/tipitaka/english/?index_34

แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]