ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับภาษาไทย   บาลีอักษรไทย   บาลีอักษรโรมัน 
แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๙ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
พระอภิธรรมปิฎก
เล่ม ๙
มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
เหตุทุกะ
ปฏิจจวาร
[๑] เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ อโลภะ อโมหะ อาศัยอโทสะ อโลภะ อโทสะ อาศัยอโมหะ โมหะ อาศัยโลภะ โลภะ อาศัยโทสะ โทสะ อาศัยโมหะ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ อโทสะ อโมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอโลภะ
พึงผูกจักรนัย
โมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ เหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ เหตุธรรมทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และเหตุธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และเหตุธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ เหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
พึงผูกจักรนัย
โมหะ อาศัยโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โมหะ อาศัยโทสะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ในปฏิสนธิขณะ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ และหทัยวัตถุ ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ และเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ และเหตุธรรม เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อโทสะ อโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น เหตุธรรม และอโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อโทสะ อโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ และอโลภะ
พึงผูกจักรนัย
ขันธ์ ๓ และโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ อโทสะ อโมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทัยวัตถุ และอโลภะ ฯลฯ [๒] เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย ทิ้งรูปภูมิเสีย พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๙ ในอรูปภูมิเท่านั้น เพราะอธิปติปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี พึงกระทำให้บริบูรณ์ อาศัยมหาภูต- *รูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย นี้เป็น ข้อที่ต่างกัน เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย มีมหาภูตรูปทั้งหมดตลอดถึงอสัญญสัตว์ เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี แม้ในภูมิทั้งสอง เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย [๓] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙ พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัฏฐาน จบ
[๔] นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ [๕] นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูปทั้งหมด นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยเหตุธรรม และขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุ- *ธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯ ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย พึงกระทำให้บริบูรณ์ ไม่ใช่เพราะอนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะสมนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะอัญญมัญญปัจจัย ไม่ใช่เพราะอุปนิสสย- *ปัจจัย [๖] เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ
พึงผูกจักรนัย
โมหะ อาศัยโลภะ โลภะ อาศัยโมหะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยเหตุธรรม จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ ปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ อโทสะ อโมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอโลภะ
พึงผูกจักรนัย
โมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะ
พึงผูกจักรนัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเหตุธรรม ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ เหตุธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ ปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และนเหตุธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น นเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ ปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
พึงผูกจักรนัย
ในอรูปภูมิ โมหะ อาศัยโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
พึงผูกจักรนัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ ปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรมและเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม และ นเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรมและนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และอโทสะ อโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น นเหตุธรรม และอโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พึงผูกจักรนัย
ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และโลภะ
พึงผูกจักรนัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๗] เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย [๘] นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยเหตุธรรม นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ กัมมปัจจัย คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย [๙] เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย มี ๙ นัย [๑๐] นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอาหารปัจจัย คือ พาหิรรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๑] ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอินทริยปัจจัย คือ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป มหา- *ภูตรูป ๑ ฯลฯ อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ส่วนพวกอสัญญสัตว์ รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๒] ฯลฯ ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหาร- *สมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๑๓] ฯลฯ ไม่ใช่เพราะมัคคปัจจัย คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ในอเหตุก- *ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ ฯลฯ ไม่ใช่เพราะสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย เหมือนที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ในอรูปภูมิเท่านั้น ฯลฯ ไม่ใช่เพราะนัตถิปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิคตปัจจัย [๑๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓
ปัจจนียะ จบ
[๑๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๖] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ฯลฯ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒
ปัจจนียานุโลม จบ
แม้สหชาตวาร ก็เหมือนกับปฏิจจวาร ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาร หัวข้อปัจจัย เมื่อมหา- *ภูตรูปทั้งหลายจบแล้ว พึงกระทำว่า "อาศัยหทัยวัตถุ" อายตนะ ๕ ย่อมได้ ในอนุโลมก็ดี ในปัจจนียะก็ดี ฉันใด พึงกระทำฉันนั้น สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตต- *วารก็ดี พึงทำให้บริบูรณ์ รูปภูมิไม่มี มีแต่อรูปภูมิเท่านั้น
ปัญหาวาร
[๑๗] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ อโลภะ เป็นปัจจัยแก่อโทสะ แก่อโมหะ โดยเหตุปัจจัย
พึงผูกจักรนัย
โลภะ เป็นปัจจัยแก่โมหะ โดยเหตุปัจจัย โทสะ เป็นปัจจัยแก่โมหะ โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ อโลภะ เป็นปัจจัยแก่อโทสะอโมหะ และสัมปยุตตขันธ์และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย
พึงผูกจักรนัย
โลภะ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๘] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะปรารภเหตุธรรม เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะปรารภเหตุธรรม เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะ ปรารภเหตุธรรม นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน ๑- สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณาซึ่งกุศล- *กรรมนั้น บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน บุคคลออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค ฯลฯ ผล ฯลฯ นิพพาน ฯลฯ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย ๒- พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ละแล้ว ที่เป็นเหตุธรรม กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็น @๑. หมายความว่า บาลีตอนที่ ๑ ๒. หมายความว่า บาลีตอนที่ ๒ นเหตุธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นเหตุธรรม โดยเจโต- *ปริยญาณ อากาสานัญจายตนะกิริยา เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะกิริยา อากิญ- *จัญญายตนกิริยา เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา รูปายตนะเป็น ปัจจัย แก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอารัมมณ- *ปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริย- *ญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่ อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย พึงยกเอาเฉพาะข้อความในบาลีตอนที่ ๑ ว่า "บุคคลให้ทาน" เท่านั้น มาใส่ในที่นี้ แต่ให้ตัดอาวัชชนะออกเสีย และข้อที่ว่า "รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ" นี้ ก็ให้ตัดออก นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือบุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แล้วพิจารณาซึ่งกุศล- *กรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น เหตุธรรมทั้งหลายและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น พึงยกเอาข้อความที่ตั้งอยู่ในบาลีนั้นมาใส่ที่นี้ ให้เหมือนกับข้อความใน บาลีตอนที่ ๒ เหตุธรรมและนเหตุธรรมเป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะปรารภเหตุธรรมและสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย เหตุธรรมและนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะปรารภเหตุธรรมและ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เหตุธรรมและนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะ ปรารภเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย [๑๙] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่เพราะกระทำเหตุธรรมให้หนักแน่น เหตุธรรม ทั้งหลาย เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่เพราะกระทำเหตุธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่เพราะกระทำเหตุธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และเหตุธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ พึงยกเอาข้อความตามบาลีที่ว่า "บุคคลให้ทานแล้ว" มาใส่ให้พิสดาร จนถึงคำว่าขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ พึงยกเอาข้อความ ตามบาลีข้างต้นมาใส่ จนถึงหทยวัตถุ และขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา เพราะ กระทำกุศลธรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม และเหตุธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น พึงยกเอาข้อความตามบาลีที่ว่า บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่ง สมไว้แล้วในกาลก่อน จนถึงหทยวัตถุ และขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม มาใส่ ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำเหตุธรรม และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำเหตุธรรม และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุ- *ธรรม เกิดขึ้น เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำเหตุธรรม และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น [๒๐] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น นเหตุธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอนันตรปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็น ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอนันตรปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยอนันตรปัจจัย นเหตุมูลกนัย เป็นอย่างเดียวกันทั้ง ๓ เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย อนันตรปัจจัย [๒๑] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยสมนันตรปัจจัยเหมือน กับอนันตรปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย ทั้ง ๒ ปัจจัยนี้เหมือนกับ ปัจจยวาร ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยนิสสยปัจจัย เหมือนกับนิสสยปัจจัย ใน ปัจจยวาร [๒๒] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสย อนันตรรูปนิสสย ปกตูปนิสสย ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ เหตุธรรมทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความ ปรารถนา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความ ปรารถนา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ เหมือนกับอุปนิสสยปัจจัย ตอนที่ ๒ เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย อุปนิสสยปัจจัย [๒๓] นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นหทัย- *วัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาต- *ปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนเหตุธรรม โดยปุเรชาต- *ปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็น ของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย โดยปุเรชาตปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็น ของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ ทิพพจักขุ ฯลฯ ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยปุเรชาตปัจจัย [๒๔] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ที่เกิดหลังๆ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยปัจฉาชาต- *ปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๒๕] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอาเสวนปัจจัย เหมือน กับอนันตรปัจจัย [๒๖] นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก- *ขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *เหตุทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก- *เหตุทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมม- *ปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก- *ขันธ์ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๒๗] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ อโลภะ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่อโทสะ แก่อโมหะ โดย วิปากปัจจัย พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๙ ในวิปากวิภังค์ เหมือนกับปฏิจจวาร [๒๘] นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอาหารปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุ ทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย แก่เหตุธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๒๙] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอินทริยปัจจัย ในเหตุ- *มูลกนัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดย อินทริยปัจจัย อินทริยปัจจัย พึงให้พิสดารอย่างนี้ และมีหัวข้อปัจจัย ๙ [๓๐] นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยฌานปัจจัยมี ๓ นัย [๓๑] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยมัคคปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย ใน ๒ ปัจจัยนี้ มีหัวข้อปัจจัย ๙ [๓๒] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- *รูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปปยุตต- *ปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ หทัยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม โดยวิปปยุตต- *ปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย โดย วิปปยุตตปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมและนเหตุธรรม โดยวิปปยุตต- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย เหตุธรรมและนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๓๓] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ อโลภะ เป็นปัจจัยแก่อโทสะ แก่อโมหะ โดยอัตถิปัจจัย
พึงผูกจักรนัย
โลภะ เป็นปัจจัยแก่โมหะ โดยอัตถิปัจจัย
พึงผูกจักรนัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิด ก่อน โดยอัตถิปัจจัย เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ อโลภะ เป็นปัจจัยแก่อโทสะ แก่อโมหะ แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย
พึงผูกจักรนัย
โลภะ เป็นปัจจัยแก่โมหะ แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย
พึงผูกจักรนัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปทั้งหลาย
พึงผูกจักรนัย
ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพ- *จักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดย อัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ เหตุธรรมทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมและนเหตุธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ แก่เหตุธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ อโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัย แก่อโทสะ แก่อโมหะ โดยอัตถิปัจจัย
พึงผูกจักรนัย
โลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่โมหะ โดยอัตถิปัจจัย
พึงผูกจักรนัย
ปฏิสนธิขณะ อโลภะ และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อโทสะ อโมหะ โดยอัตถิปัจจัย
พึงผูกจักรนัย
เหตุธรรมและนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ที่เป็นสหชาต ได้แก่ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และเหตุธรรม เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ เหตุธรรมและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเหตุธรรม โดยอัตถิปัจจัย เหตุธรรมทั้งหลาย และมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เกิดร่วมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ เหตุธรรมทั้งหลาย และกวฬิงการาหาร เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ เหตุธรรมทั้งหลาย และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัย แก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และอโลภะ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ แก่อโทสะ แก่อโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดย อัตถิปัจจัย
พึงผูกจักรนัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และอโลภะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ แก่โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย
พึงผูกจักรนัย
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และอโลภะ ฯลฯ
พึงผูกจักรนัย
ในปฏิสนธิขณะ อโลภะ และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อโมหะและ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย โลภะ และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ โมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยนัตถิปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยวิคตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอวิคตปัจจัย [๓๔] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๓ ในอาหารปัจจัย มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๓ ในมัคคปัจจัย มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๙ ในวิคตปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
ผู้มีปัญญาพึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๓๕] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย โดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยกัมมปัจจัย นเหตุธรรม ปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาต- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย [๓๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๙
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๓๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๓๘] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
เหตุทุกะ จบ
สเหตุกทุกะ
ปฏิจจวาร
[๓๙] สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และ หทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และ หทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย [๔๐] สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัย หทัยวัตถุ สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และ หทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๔๑] สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย [๔๒] สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย [๔๓] ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ สหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุก- *ธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ และโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ขันธ์ ๒ ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย ปัจจัยเหล่านี้ พึงกระทำเป็นหัวข้อปัจจัย ๕ เหมือนกับเหตุปัจจัย ไม่มีแตกต่างกัน [๔๔] สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น สเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุก- *ธรรม อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และ หทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๔๕] สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนิสสยปัจจัย ฯลฯ เพราะอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เพราะปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เพราะอาเสวนปัจจัย ฯลฯ เพราะกัมมปัจจัย ฯลฯ เพราะวิปากปัจจัย ฯลฯ เพราะอาหารปัจจัย ฯลฯ เพราะอินทริยปัจจัย ฯลฯ เพราะฌานปัจจัย ฯลฯ เพราะมัคคปัจจัย ฌานปัจจัยก็ดี มัคคปัจจัยก็ดี เหมือนกับสหชาตปัจจัย พาหิรรูป มหา- *ภูตรูป ไม่มี ฯลฯ เพราะสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ เพราะวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ เพราะอัตถิปัจจัย ฯลฯ เพราะนัตถิปัจจัย ฯลฯ เพราะวิคตปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย [๔๖] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๖ ในอธิปติปัจจัย มี " ๕ ในอนันตรปัจจัย มี " ๖ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๖ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๖ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๖ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๖ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๙ ในอาหารปัจจัย มี " ๙ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๙ ในมัคคปัจจัย มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๖ ในวิคตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๖ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙ พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๔๗] อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ เหตุปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ พึงกระทำทั้งหมด ตลอดถึงอสัญญสัตว์ [๔๘] อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณ- *ปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ในปฏิสนธิ- *ขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม จิตต- *สมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และมหา- *ภูตรูปทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ [๔๙] สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย ในอนุโลม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะสมนันตรปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอุปนิสสยปัจจัย [๕๐] สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาต- *ปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ในปฏิสนธิ- *ขณะ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ ปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงให้พิสดาร ตลอดถึงอสัญญสัตว์ สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทัย- *วัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ ปุเรชาตปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และมหา- *ภูตรูปทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทัย- *วัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย [๕๑] สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย [๕๒] ฯลฯ ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุกธรรม อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะกัมมปัจจัย คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ [๕๓] ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย ปฏิสนธิ ไม่มี [๕๔] อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอาหารปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอินทริยปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะมัคคปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะสัมปยุตตปัจจัย [๕๕] สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปปยุตต- *ปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ฯลฯ ไม่ใช่เพราะนัตถิปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิคตปัจจัย [๕๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓ พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๕๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๕๘] ในอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๒ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๒ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ พึงนับอย่างนี้ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒
ปัจจัยนียานุโลม จบ
สหชาตวาร เหมือนกับ ปฏิจจวาร
ปัจจยวาร
[๕๙] สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย สเหตุกมูลกะนัยเหมือนกับปฏิจจวาร อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวารนั่นเอง สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ ฯลฯ สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และ หทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม และ อเหตุธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และ หทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทัย- *วัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูป อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย [๖๐] สเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัย อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทัยวัตถุ จักขุวิญญาณ อาศัย จักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม อาศัย หทัยวัตถุ สเหตุกธรรม อาศัย อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัย หทัยวัตถุ สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม อาศัย อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ อาศัยหทัยวัตถุ สเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ หทัยวัตถุ สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และ โมหะ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ อาศัย ขันธ์ ๒ [๖๑] สเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย ในอธิปติปัจจัย พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๙ เฉพาะในปวัตติกาลเท่านั้น [๖๒] สเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย [๖๓] ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับ ปฏิจจวาร อเหตุกธรรม อาศัย อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ จักขุวิญญาณ อาศัย จักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัย กายายตนะ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอเหตุกธรรม อาศัย หทัยวัตถุ สเหตุกธรรม อาศัย อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัย หทัยวัตถุ สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย อาศัย โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม อาศัย อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ สหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัย หทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ ฯลฯ สเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ สหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ สหชาตปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทัยวัตถุ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และ หทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๖๔] สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญ- *ปัจจัย ฯลฯ ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย [๖๕] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอารัมมณปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙ พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๖๖] อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ เหตุปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ จักขุวิญญาณ อาศัย จักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ
ฯลฯ
[๖๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓ พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๖๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียา จบ
[๖๙] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
นิสสยวาร เหมือนกับ ปัจจยวาร
สังสัฏฐวาร
[๗๐] สเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ คลุกเคล้ากับโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ สหรคตธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๗๑] สเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ คลุกเคล้ากับ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ คลุกเคล้ากับโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ สเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๗๒] สเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๗๓] สเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ [๗๔] ฯลฯ เพราะวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิปาก ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ฯลฯ เพราะฌานปัจจัย ฯลฯ ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย [๗๕] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๖ ในอธิปติปัจจัย มี " ๑ ในอนันตรปัจจัย มี " ๖ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๖ ในสหชาตปัจจัย มี " ๖ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในนิสสยปัจจัย มี " ๖ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๖ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๖ ฯลฯ ในวิปากปัจจัย มี " ๒ ในอาหารปัจจัย มี " ๖ ในอินทริยปัจจัย มี " ๖ ในฌานปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๖ ในมัคคปัจจัย มี " ๕ ในอวิคตปัจจัย มี " ๖ พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๗๖] อเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ เหตุปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ คลุกเคล้า กับขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ฯลฯ
[๗๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๖ พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๗๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๗๙] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ฯลฯ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
สัมปยุตตวาร เหมือนกับ สังสัฏฐวาร
ปัญหาวาร
[๘๐] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม โดย เหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัย แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม โดย เหตุปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๘๑] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณากุศล- *กรรมนั้น บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล กิเลสที่ละแล้ว ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้น แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็น สเหตุกธรรม เกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นสเหตุกธรรม โดย เจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สเหตุกธรรม เกิดขึ้น สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็นอเหตุก- *ธรรม เกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อเหตุกธรรม และ โมหะ เกิดขึ้น สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ เกิดขึ้น อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย จักขุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และ โมหะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็น อเหตุกธรรม เกิดขึ้น รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และ โมหะ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอเหตุกธรรม และ โมหะ เกิดขึ้น อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล โดย อารัมมณปัจจัย พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอเหตุกธรรม กิเลส ทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ จักขุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และ โมหะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็น สเหตุกธรรม เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียง ด้วยทิพพโสตธาตุ บุคคลผู้จิตของบุคคลรู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอเหตุกธรรม โดย เจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโต- *ปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และ โมหะ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุกธรรม เกิดขึ้น อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภจักขุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และ โมหะ เกิดขึ้น โสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อเหตุกธรรม และ โมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และ โมหะ เกิดขึ้น สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เกิดขึ้น สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ เกิดขึ้น สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เกิดขึ้น [๘๒] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลธรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา จากฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่น ฯลฯ ผล ฯลฯ เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำความยินดีนั้นให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม โดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลายกระทำ นิพพานให้หนักแน่นแล้ว พิจารณา นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล โดย อธิปติปัจจัย จักขุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุก- *ธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ กระทำความยินดีนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๘๓] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล ผล เป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิด ก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ที่สหรคตด้วยวิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่ เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิต ที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต ที่เป็นอเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย ภวังค์ที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ โดยอนันตรปัจจัย ภวังค์ที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นอเหตุกธรรม โดย อนันตรปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม โดย อนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิด ก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลังๆ และโมหะ โดยอนันตรปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิด หลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ปัญจวิญญาณ โดยอนันตรปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิด หลังๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นสเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย ภวังค์ที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นสเหตุกธรรม โดย อนันตรปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นสเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุกธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิด หลังๆ และโมหะ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ โดยอนันตรปัจจัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่ เกิดก่อนๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่ เกิดก่อนๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่ เกิดก่อนๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลังๆ และโมหะ โดยอนันตรปัจจัย [๘๔] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยสหชาตปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย ในปฏิจจวาร
ปัจจัยสงเคราะห์ในที่นี้ ไม่มี
ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาร ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย เหมือนกับนิสสยปัจจัย ในปฏิจจวาร
ปัจจัยสงเคราะห์ในที่นี้ ไม่มี
[๘๕] ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ สุขทางกาย เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย และแก่โมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัย แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย และแก่โมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย โมหะ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย และแก่โมหะ โดย อุปนิสสยปัจจัย สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เสนาสนะ และโมหะ เป็น ปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย และแก่โมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยสุขทางกายแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ บุคคลเข้าไปอาศัยทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ โภชนะ เสนาสนะ ฯลฯ โมหะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ สุขทางกาย ฯลฯ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ สุขทางกาย และโมหะ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดย อุปนิสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และอเหตุก- *ธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๘๖] อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็น ของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว อารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็นอเหตุกธรรม เกิดขึ้น รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ โดยปุเรชาตปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็น ของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบากที่เป็นสเหตุก- *ธรรม เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียง ด้วยทิพพโสตธาตุ ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สเหตุกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม โดย ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ เพราะปรารภจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เกิดขึ้น ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ โดยปุเรชาตปัจจัย [๘๗] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง และโมหะ เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดย ปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิด ภายหลัง และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๘๘] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอาเสวนปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย อาวัชชนะก็ดี ภวังค์ก็ดี ไม่มี ในอาเสวนปัจจัย พึงเว้นหัวข้อ ปัจจัยทั้ง ๙ [๘๙] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมม- *ปัจจัย สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม โดยกัมม- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมม- *ปัจจัย อเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๙๐] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปาก- *ปัจจัย [๙๑] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอาหารปัจจัย มี ๓ นัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารทั้งหลาย ที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอาหารปัจจัย [๙๒] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอินทริยปัจจัย มี ๓ นัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุตฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กาย- *วิญญาณ โดยอินทริยปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดย อินทริยปัจจัย [๙๓] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยฌานปัจจัย มี ๓ นัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยฌานปัจจัย คือ องค์ฌานทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๙๔] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยมัคคปัจจัย มี ๓ นัย [๙๕] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยสัมปยุตตปัจจัย เหมือนกับสัมปยุตตปัจจัย ในปฏิจจวาร
พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๖
[๙๖] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตา- *รูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตา- *รูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดย วิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุก ธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม โดยวิปปยุตต- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ โดยวิปปยุตต- *ปัจจัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยวิปปยุตต- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตต- *ปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๙๗] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดย อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม โดยอัตถิ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๕ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ แก่โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ที่เป็นสหชาต ได้แก่ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะ ที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดย อัตถิปัจจัย ปฏิสนธิ พึงกระทำตลอดถึงอสัญญสัตว์ ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็น อเหตุกธรรม เกิดขึ้น รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัย แก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุก- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็น สเหตุกธรรม เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม โดย อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดย อัตถิปัจจัย ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ เพราะปรารภจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโทสะ เกิดขึ้น หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ โดยอัตถิปัจจัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดย อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทัยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยอัตถิ- *ปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่โมหะ โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และรูป- *ชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และโมหะ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๙๘] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๖ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๔ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในนิสสยปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในกัมมปัจจัย มี " ๔ ในวิปากปัจจัย มี " ๔ ในอาหารปัจจัย มี " ๔ ในอินทริยปัจจัย มี " ๔ ในฌานปัจจัย มี " ๔ ในมัคคปัจจัย มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๙ ในวิคตปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙ พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๙๙] สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาต- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสย- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๐๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๙ พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๐๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๖ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๐๒] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
สเหตุกทุกะ จบ
เหตุสัมปยุตตทุกะ
ปฏิจจวาร
[๑๐๓] เหตุสัมปยุตตธรรม อาศัยเหตุสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุสัมปยุตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุวิปปยุตตธรรม อาศัยเหตุสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเหตุสัมปยุตตธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงให้พิสดาร ด้วยเหตุนี้ เหมือนกับสเหตุกทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน
เหตุสัมปยุตตทุกะ จบ
เหตุสเหตุกทุกะ
ปฏิจจวาร
[๑๐๔] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม อาศัยธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ อโทสะอโมหะ อาศัย อโลภะ
พึงผูกจักรนัย
โมหะ อาศัย โลภะ
พึงผูกจักรนัย
ในปฏิสนธิขณะ อโทสะอโมหะ อาศัย อโลภะ
พึงผูกจักรนัย
ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมเป็นที่ทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ อโทสะอโมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอโลภะ
พึงผูกจักรนัย
โมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะ
พึงผูกจักรนัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสเหตุก- *ธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ เหตุธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และเหตุธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่ เหตุธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ อโทสะอโมหะ อาศัยอโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
พึงผูกจักรนัย
โมหะ อาศัยโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
พึงผูกจักรนัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม และ เหตุธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรมและธรรม ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือขันธ์ ๓ และอโทสะอโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ ไม่ใช่เหตุธรรม และอโลภะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พึงให้พิสดารอย่างที่กล่าวมาแล้ว
[๑๐๕] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๑๐๖] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่เป็น ทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย คือ อโทสะอโมหะ อาศัยอโลภะ
พึงผูกจักรนัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๙ ให้บริบูรณ์
ฯลฯ ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย มี ๙ นัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ นัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย มี ๙ นัย [๑๐๗] ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัยธรรมที่เป็น ทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือสัมปยุตตเจตนา อาศัยเหตุธรรม ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสเหตุก- *ธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะกัมมปัจจัย คือสัมปยุตตเจตนา อาศัยเหตุธรรม และสัมปยุตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย [๑๐๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๙
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๐๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๑๐] ในเหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอารัมมณปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
สหชาตวารก็ดี ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตต- *วารก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาร
ปัญหาวาร
[๑๑๑] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ อโลภะ เป็นปัจจัยแก่อโทสะอโมหะ โดยเหตุปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาร ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น ทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ อโลภะ เป็นปัจจัยแก่อโทสะอโมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย
พึงให้พิสดาร
[๑๑๒] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภเหตุธรรม เหตุธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุก- *ธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภเหตุธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่ เหตุธรรม เกิดขึ้น ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภเหตุธรรม เหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณากุศลกรรม นั้น บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน บุคคลออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณา กิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้ว ในกาลก่อน ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่ เหตุธรรม โดยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธ- *ญาณแก่เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ มีอธิบายเหมือนข้อความตามบาลีตอนต้น ไม่มี แตกต่างกัน ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ มีอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีตอนต้น ไม่มีแตกต่างกัน ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เหตุธรรม ทั้งหลาย เกิดขึ้น ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุก- *ธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เหตุธรรมและ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น [๑๑๓] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำเหตุธรรมทั้งหลายให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำเหตุธรรมให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุก- *ธรรมเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุ ธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอธิปติ- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำเหตุธรรมทั้งหลายให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย โดย อธิปติปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถ- *กรรมแล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา ในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่น ฯลฯ แล้วพิจารณากระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรมให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วย่อมยินดีย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำความดีนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่ เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น ทั้งเหตุธรรม และ สเหตุกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ มีอธิบายเหมือนข้อ ความตามบาลีตอนต้นนั่นเอง ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุ- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุ- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรม และสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ มีอธิบายเหมือน ข้อความตามบาลีตอนต้นนั่นเอง ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่ เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย โดย อธิปติปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำเหตุธรรม และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำเหตุธรรม และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุก- *ธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำเหตุธรรม และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น [๑๑๔] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรม และสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอนันตรปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดหลังๆ โดย อนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดย อนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย อนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู สเหตุกนเหตุมูลกนัย แม้ทั้ง ๓ เป็นเช่นเดียวกัน ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรมโดย อนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ โดย อนันตรปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุ ธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอนันตร ปัจจัย [๑๑๕] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยนิสสยปัจจัย ทั้ง ๓ ปัจจัยเหมือนกับเหตุปัจจัย ในปฏิจจวาร [๑๑๖] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ เหตุธรรมทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย พึงถามถึงมูลทั้งหลาย แห่งหัวข้อปัจจัยทั้งหลาย แม้ทั้ง ๒ เหล่านี้ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำ ลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย ในสเหตุมูลกนัย พึงให้พิสดารโดยเหตุนี้ ที่เหลือนอกนั้น มีหัวข้อ ปัจจัย ๒ ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุกธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย
พึงถามถึงมูล ๒
เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
พึงถามถึงมูล
เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๑๗] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอาเสวนปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย [๑๑๘] ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดย กัมมปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดย กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก ขันธ์ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๑๙] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ อโลภะที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่อโทสะ อโมหะ โดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อโลภะ ฯลฯ พึงให้พิสดาร เหมือนกับเหตุปัจจัย พึงกำหนดว่า วิบากทั้ง ๙ นัย [๑๒๐] ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอาหารปัจจัย มี ๓ นัย [๑๒๑] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอินทริยปัจจัย พึงกำหนดว่า อินทรีย์ พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๙ ให้บริบูรณ์ [๑๒๒] ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยฌานปัจจัย มี ๓ นัย [๑๒๓] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม โดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอัตถิปัจจัย เป็นปัจจัย โดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัย โดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอวิคตปัจจัย [๑๒๔] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๙ ในอาหารปัจจัย มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๓ ในมัคคปัจจัย มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๙ ในวิคตปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมจบ
[๑๒๕] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาต ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุก ธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๒๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๒๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๒๘] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๙
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
เหตุสเหตุกทุกะ จบ
เหตุเหตุสัมปยุตตทุกะ
[๑๒๙] ธรรมที่เป็นเหตุและเหตุสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็น ทั้งเหตุและเหตุสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ
พึงผูกจักรนัย
โมหะ อาศัยโลภะ
พึงผูกจักรนัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงให้พิสดารเหมือนกับ เหตุสเหตุกทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน
เหตุเหตุสัมปยุตตทุกะ จบ
นเหตุสเหตุกทุกะ
[๑๓๐] นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ฯลฯ นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุ- *สเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม อาศัย หทัยวัตถุ นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม อาศัย หทัยวัตถุ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น นเหตุสเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๓๑] นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ- *ปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม อาศัย หทัยวัตถุ นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ฯลฯ พึงจำแนกอย่างนี้
[๑๓๒] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๔ ในอธิปติปัจจัย มี " ๕ ในอนันตรปัจจัย มี " ๔ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๔ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๔ ในปุเรชาตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๙ ในอาหารปัจจัย มี " ๙ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๔ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๔ ในวิคตปัจจัย มี " ๔ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๑๓๓] นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุอเหตุก- *ธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ โมหะไม่มี [๑๓๔] นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยเหตุนสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ฯลฯ
[๑๓๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๓๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๓๗] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ฯลฯ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
ปัจจนียานุโลม จบ
แม้ในสหชาตวาร ก็พึงนับอย่างนี้
ปฏิจจวาร
[๑๓๘] นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิ- *ขณะ ฯลฯ นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ จิตต- *สมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ปัจจัยสงเคราะห์ มี ๓ ปวัตติ และปฏิสนธิ พึงกระทำให้ บริบูรณ์ ฯลฯ [๑๓๙] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๔ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๑๔๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓
ปัจจนียะ จบ
นิสสยวาร เหมือนกับ ปัจจยวาร
สังสัฏฐวาร
[๑๔๑] นเหตุสเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับ นเหตุสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๔๒] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๒ ในอธิปติปัจจัย มี " ๑ ในอนันตรปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๒ ในวิคตปัจจัย มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย มี " ๒
อนุโลม จบ
[๑๔๓] นเหตุอเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับ นเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น นเหตุอเหตุกธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๔๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๒
ปัจจนียะ จบ
การนับ ๑ อย่างแม้ที่ยังเหลือ พึงนับอย่างนี้ สัมปยุตตวาร เหมือนกับ สังสัฏฐวาร
ปัญหาวาร
[๑๔๕] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณากุศลกรรม นั้น พิจารณากุศลกรรมทั้งหลาย ที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้วพิจารณาผล กิเลสที่ละแล้ว ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็นนเหตุ- *สเหตุกธรรม เกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม โดย เจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตัง- *สญาณ โดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น นเหตุสเหตุกธรรม เกิดขึ้น นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุกอเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็นนเหตุ- *อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น นเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม โดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบากที่เป็นนเหตุ- *อเหตุกธรรม เกิดขึ้น รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ โดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น นเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล โดยอารัมมณ- *ปัจจัย จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม โดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็น นเหตุสเหตุกธรรม เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม โดย เจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น นเหตุสเหตุกธรรม เกิดขึ้น [๑๔๖] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดยอธิปติ- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่บุคคลให้ทาน สมาทานศีลแล้วกระทำกุศล- *กรรมนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลาย ที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ออก จากฌานแล้ว กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่นแล้ว พิจารณา กระทำผลให้หนักแน่นแล้ว พิจารณา บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำความยินดีนั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นนเหตุสเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุก- *ธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นนเหตุสเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติ- *ปัจจัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่พระอริยะทั้งหลายกระทำนิพพาน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล โดย อธิปติปัจจัย จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุ อเหตุกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ กระทำความยินดีนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๑๔๗] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดยอนันตร ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ โคตรภู ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่ ผลสมาบัติ โดยอนันตร- *ปัจจัย นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ จุติจิตที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นนเหตุ อเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย ภวังค์ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ภวังค์ที่เป็น นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น นเหตุสเหตุกธรรมเป็นปัจจัย แก่วุฏฐานะที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ นเหตุอเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรมที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ ปัญจวิญญาณ โดยอนันตรปัจจัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ นเหตุสเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ จุติจิตที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ อุปปัตติจิตที่เป็น นเหตุสเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม โดย อนันตรปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ วุฏฐานะที่เป็น นเหตุสเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๔๘] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ นเหตุสเหตุกธรรม โดย สมนันตรปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย ในที่นี้ปัจจัยสงเคราะห์ ไม่มี พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๗ ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย
พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๖
ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยนิสสยปัจจัย พึงกระทำปวัตติ และ ปฏิสนธิ หัวข้อปัจจัย ๗ ในที่นี้ปัจจัยสงเคราะห์ ไม่มี [๑๔๙] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ นเหตุสเหตุกธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลาย สงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ ศรัทธา ฯลฯ แก่ความ ปรารถนา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธา เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ ทุกข์ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย ศีล ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ สุขทางกาย แก่ทุกข์ ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ นเหตุอเหตุกธรรม โดยอุปนิสสย ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ สุขทางกาย เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย ทุกข์ทางกาย ฯลฯ ฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฤดู โภชนะ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ นเหตุสเหตุกธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยสุขทางกายแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ บุคคลเข้าไปอาศัยทุกข์ทางกาย ฯลฯ ฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความ ปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๕๐] นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ นเหตุอเหตุกธรรม โดย ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็น ของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็นนเหตุ- *อเหตุกธรรม เกิดขึ้น รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ นเหตุสเหตุกธรรม โดยปุเรชาต- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็น ของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็นนเหตุ- *สเหตุกธรรม เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๑๕๑] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดย ปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๕๒] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุกสเหตุธรรม โดย อาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอาเสวนปัจจัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย [๑๕๓] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดยกัมม ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่เจตนาที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่เจตนาที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ที่เป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่เจตนาที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่เจตนาที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรมที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่เจตนาที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่เจตนาที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมม- *ปัจจัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาต ได้แก่เจตนาที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต ขันธ์และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๕๔] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดย วิปากปัจจัยมี ๓ นัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยวิปากปัจจัยมี ๑ นัย [๑๕๕] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดยอาหาร ปัจจัย มี ๓ นัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอาหารปัจจัย [๑๕๖] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดยอินทริย ปัจจัย มี ๓ นัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยสัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดย อินทริยปัจจัย [๑๕๗] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดยฌาน ปัจจัย พึงกระทำทั้ง ๔ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยมัคคปัจจัย มี ๓ นัย [๑๕๘] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดย สัมปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ใน- *ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยสัมปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ปฏิ สนธิ [๑๕๙] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดย- *วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุก ธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น นเหตุสเหตุกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๖๐] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดยอัตถิ ปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุ- *กธรรมโดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ตลอดถึงอสัญญสัตว์ ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อน กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัย แก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบากที่เป็นนเหตุ- *สเหตุกธรรม เกิดขึ้น นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุก- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และหทัยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และ กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๑] ในอารัมมณปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๔ ในอธิปติปัจจัย มี " ๔ ในอนันตรปัจจัย มี " ๔ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๔ ในสหชาตปัจจัย มี " ๗ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในนิสสยปัจจัย มี " ๗ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๔ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๒ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๒ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒ ในกัมมปัจจัย มี " ๔ ในวิปากปัจจัย มี " ๔ ในอาหารปัจจัย มี " ๔ ในอินทริยปัจจัย มี " ๔ ในฌานปัจจัย มี " ๔ ในมัคคปัจจัย มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๒ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย มี " ๗ ในนัตถิปัจจัย มี " ๔ ในวิคตปัจจัย มี " ๔ ในอวิคตปัจจัย มี " ๗
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๑๖๒] นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยกัมมปัจจัย นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุก- *ธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุก- *ธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุก- *ธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหาร- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย [๑๖๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๗ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สหชาตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๕
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๖๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๖๕] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๔ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
นเหตุสเหตุกทุกะ จบ
สัปปัจจยทุกะ
ปฏิจจวาร
[๑๖๖] สัปปัจจยธรรม อาศัยสัปปัจจยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัปปัจจยธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัย หทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๖๗] สัปปัจจยธรรม อาศัยสัปปัจจยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ- *ปัจจัย ฯลฯ ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย [๑๖๘] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑
อนุโลม จบ
[๑๖๙] สัปปัจจยธรรม อาศัยสัปปัจจยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัปปัจจยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ โมหะ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ [๑๗๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๑
ปัจจนียะ จบ
[๑๗๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๗๒] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
ปัจจนียานุโลม จบ
สหชาตวาร เหมือนกับ ปฏิจจวาร
ปัจจยวาร
[๑๗๓] สัปปัจจยธรรม อาศัยสัปปัจจยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัปปัจจยธรรม ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปัจจยธรรม อาศัยหทัยวัตถุ [๑๗๔] สัปปัจจยธรรม อาศัยสัปปัจจยธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี พึงให้ พิสดารอย่างนี้ ในปัจจัยทั้งปวง มีหัวข้อปัจจัย ๑ เท่านั้น
ปัญหาวาร
[๑๗๕] สัปปัจจยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปัจจยธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลาย ที่เป็นสัปปัจจยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๗๖] สัปปัจจยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปัจจยธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล อุโบสถกรรม ฯลฯ แล้วพิจารณา ซึ่งกุศลกรรมนั้น บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลาย ที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล กิเลสที่ละ แล้ว ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปัจจยธรรม โดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นสัปปัจจยธรรม โดย เจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัย แก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปัจจยธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโต- *ปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย อัปปัจจยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปัจจยธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่ อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๗๗] สัปปัจจยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปัจจยธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา ในกาลก่อน ฯลฯ จากฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์ อย่างหนัก แน่น แล้วพิจารณา กระทำผลให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปัจจยธรรม ให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ กระทำความยินดีนั้นให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสัปปัจจยธรรมเป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย อัปปัจจยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปัจจยธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลายกระทำ นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผลโดยอธิปติ- *ปัจจัย [๑๗๘] สัปปัจจยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปัจจยธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย ฯลฯ ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย อุปนิสสยมูล มีหัวข้อปัจจัย ๒ ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอวิคตปัจจัย ปัจจัยทั้งปวง มีหัวข้อปัจจัย ๑ เท่านั้น [๑๗๙] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๒ ในอธิปติปัจจัย มี " ๒ ในอนันตรปัจจัย มี " ๑ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๑ ในสหชาตปัจจัย มี " ๑ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๑ ในนิสสยปัจจัย มี " ๑ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๒ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๑๘๐] สัปปัจจยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปัจจยธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาต- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย อัปปัจจยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปัจจยธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๘๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๒ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๒ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๒
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๘๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
พึงนับอย่างนั้น
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๘๓] ในอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย ที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
สัปปัจจยทุกะ จบ
สังขตทุกะ
ปฏิจจวาร
[๑๘๔] สังขตธรรม อาศัยสังขตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังขตธรรม ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ทุกะนี้ พึงกระทำเหมือนสัปปัจจยทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน
สังขตทุกะ จบ
สนิทัสสนทุกะ
ปฏิจจวาร
[๑๘๕] อนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะ- *เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย สนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนิทัสสนธรรม ในปฏิสนธิขณะ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปที่เป็น สนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสน- *ธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็น สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๘๖] อนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทัยวัตถุ [๑๘๗] อนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ มหาภูต- *รูป ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย สนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนิทัสสนธรรม จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสน- *ธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย
ฯลฯ พึงกระทำทุกปัจจัย
[๑๘๘] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๑ ในอธิปติปัจจัย มี " ๓ ในอนันตรปัจจัย มี " ๑ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๑ ในสหชาตปัจจัย มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๑ ในนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๑ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๑ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๑ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๓ ในมัคคปัจจัย มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๑ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย มี " ๓ ในนัตถิปัจจัย มี " ๑ ในวิคตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๑๘๙] อนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐาน- *รูป อุตุสมุฏฐานรูป ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ สนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนิทัสสนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ในปฏิสนธิขณะ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็น สนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็น อุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุทุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็น สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย
พึงกระทำอย่างนี้ทุกปัจจัย
[๑๙๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓ [๑๙๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๙๒] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ฯลฯ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาร
[๑๙๓] อนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทัยวัตถุ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยหทัยวัตถุ พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๒ แม้นอกนี้ [๑๙๔] อนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ จักขุวิญญาณ อาศัย จักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยหทัยวัตถุ ฯลฯ [๑๙๕] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๑ ในอธิปติปัจจัย มี " ๓ ฯลฯ ในวิคตปัจจัย มี " ๓
อนุโลม จบ
[๑๙๖] อนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ- *เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ จักขุวิญญาณ อาศัย จักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทัยวัตถุ
พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๒ แม้นอกนี้ ฯลฯ
[๑๙๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓
ปัจจนียะ จบ
[๑๙๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๙๙] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ปัจจนียานุโลม จบ
แม้นิสสยวาร ก็พึงกระทำอย่างนี้
สังสัฏฐวาร
[๒๐๐] อนิทัสสนธรรม คลุกเคล้ากับอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ

             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ บรรทัดที่ ๑-๓๔๗๘ หน้าที่ ๑-๑๔๒. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=42&A=1&Z=3478&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=42&item=1&items=731              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=42&item=1&items=731&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=42&item=1&items=731              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=42&item=1&items=731              ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=1              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ https://84000.org/tipitaka/read/?index_42 https://84000.org/tipitaka/english/?index_42

แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]