ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับภาษาไทย   บาลีอักษรไทย   บาลีอักษรโรมัน 
แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๐ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
พระอภิธรรมปิฎก
เล่ม ๑๐
ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
สารัมมณทุกะ
ปฏิจจวาร
[๑] สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม เกิดขึ้น ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยอารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อนารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย เกิดขึ้น สารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทัยวัตถุ สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทัยวัตถุ กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรมและหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๒] สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ ฯลฯ. สารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. [๓] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑- ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๕ @๑. ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๑, ๒ คำว่ามีวาระเป็นมีปัจจัย ในอนันตรปัจจัย มีวาระ ๓ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๑ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๑ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๙ ในอาหารปัจจัย มี " ๙ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๙ ในมัคคปัจจัย มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๓ ในวิคตปัจจัย มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙ [๔] สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ. อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อเหตุกปฏิสนธิ. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกปฏิสนธิ. อนารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ ในอเหตุกะปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทัยวัตถุ กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และ มหาภูตรูปทั้งหลาย อเหตุกปฏิสนธิขณะ. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม และ หทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย. [๕] อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อนารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ตลอดจนถึงอสัญญสัตว์. อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ปฏิสนธิ ฯลฯ. [๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มีวาระ ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓ [๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙.
ฯลฯ
[๘] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ฯลฯ. ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
สหชาตวาร เหมือนกับปฏิจจวาร
ปัจจยวาร
[๙] สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. อนารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย. สารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย ปฏิสนธิ. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ปฏิสนธิ. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ปฏิสนธิ. [๑๐] สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. สารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทัยวัตถุ ปฏิสนธิ. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ ฯลฯ. [๑๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย มีวาระ ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๙ ในอาหารปัจจัย มี " ๙ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๙ ในมัคคปัจจัย มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๓ ในวิคตปัจจัย มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙. [๑๒] สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. อนารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ. สารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทัยวัตถุ. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย ปฏิสนธิ. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ ฯลฯ. อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ปฏิสนธิ. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรมและหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ฯลฯ. [๑๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปยุตตปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓. [๑๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
ฯลฯ
[๑๕] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัย ที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙.
ฯลฯ
ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙.
นิสสยวาร เหมือนกับปัจจยวาร.
สังสัฏฐวาร
[๑๖] สารัมมณธรรม คลุกเคล้ากับสารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๗] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๑ ในอธิปติปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑ [๑๘] สารัมมณธรรม คลุกเคล้ากับสารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย. คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม ซึ่งเป็นเหตุกขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะ คลุกเคล้ากับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ. [๑๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มีวาระ ๑ การนับทั้งสอง นอกจากนี้ก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.
ปัญหาวาร
[๒๐] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยเหตุปัจจัย คือสารัมมณเหตุทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ สารัมมณเหตุทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ สารัมมณเหตุทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ. [๒๑] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ บุคคลพิจารณาซึ่งกุศลธรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลธรรม นั้น ฯลฯ โทมนัสเกิดขึ้น กุศลธรรมที่ตนอบรมแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลาย พิจารณาโคตรภู โวทาน พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว บุคคลรู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยกำเริบแล้วในกาลก่อน บุคคลพิจารณาขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม โดยเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลที่พร้อมเพรียงด้วยสารัมมณจิต ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ สารัมมณขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือพระอริยะทั้งหลายพิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย บุคคลพิจารณาจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียง ด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ อนารัมมณขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย. [๒๒] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ. ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณากุศลธรรม นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะทำกุศลธรรมนั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ กุศลธรรมที่อบรมแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว ทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายที่ออกจากมรรคแล้ว ทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ บุคคลทำสารัมมณขันธ์ทั้งหลาย ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วย่อมยินดี ย่อมเพลิด เพลิน เพราะทำสารัมมณขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ สารัมมณอธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่สารัมมณอธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน รูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ สารัมมณอธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลายกระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล โดยอธิปติปัจจัย บุคคลทำจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิด เพลินยิ่ง เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น ฯลฯ [๒๓] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ สารัมมณธรรมที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย. เป็นปัจจัย โดยสมนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๗ นัยเหมือนกับ สหชาตปัจจัย ในปฏิจจวาร เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย เหมือนกับอัญญมัญญปัจจัยในปฏิจจวารมี ๖ นัย เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ นัย เหมือนกับนิสสยปัจจัยในปฏิจจวาร. [๒๔] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่างคือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วย่อมให้ทาน ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัย ศีล ปัญญา ความปรารถนา สุขอันเป็นไปทางกาย ทุกข์อันเป็นไป ทางกาย แล้วย่อมให้ทาน ฯลฯ บุคคลยังสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์มีชีวิต ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา สุขอันเป็นไปทางกาย ทุกข์อันเป็นไปทางกาย เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา แก่สุขอันเป็นไปทางกาย แก่ทุกข์อันเป็นไป ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่างคือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัย ฤดู โภชนะ เสนาสนะแล้วให้ ทาน ยังสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์มีชีวิต ทำลายสงฆ์ ฤดู โภชนะ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขอันเป็น ไปทางกาย แก่ทุกข์อันเป็นไปทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย. [๒๕] อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่บุคคลพิจารณาจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ. ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่สารัมมณขันธ์ทั้งหลาย โดยปุเรชาตปัจจัย [๒๖] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม โดยปัจฉาชาต ปัจจัย มี ๑ นัย. [๒๗] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอาเสวนปัจจัย มี ๑ นัย. [๒๘] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ สารัมมณเจตนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมม- *ปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ สารัมมณเจตนา เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมม- *ปัจจัย. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือสหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ สารัมมณเจตนา เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดย กัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่สารัมมณเจตนา เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมม- *ปัจจัย. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ สารัมมณเจตนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐาน- *รูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ สารัมมณเจตนา เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. [๒๙] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยวิปากปัจจัย มี ๓ นัย. [๓๐] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอาหารปัจจัย มี ๓ นัย. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ กพฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอาหารปัจจัย. [๓๑] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอินทริยปัจจัย มี ๓ นัย. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอินทริยปัจจัย. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ จักขุนทรีย์ และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ โดยอินทริยปัจจัย กายินทรีย์ และกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย กายวิญญาณ โดยอินทริยปัจจัย. [๓๒] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยฌานปัจจัย มี ๓ นัย เป็นปัจจัย โดยมัคคปัจจัย มี ๓ นัย เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ นัย. [๓๓] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย. มี ๒ อย่างคือ สหชาต ปัจฉาชาต อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่างคือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่สารัมมณขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ โดยวิปปยุตตปัจจัย. [๓๔] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม โดยอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาร อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ มหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่สารัมมณขันธ์ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่สารัมมณขันธ์ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิ- *ปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ สารัมมณขันธ์ และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ- *ฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ปฏิสนธิ. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ สารัมมณขันธ์ และกพฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ สารัมมณขันธ์ และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย. [๓๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๒ ในอธิปติปัจจัย มี " ๔ ในอนันตรปัจจัย มี " ๑ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๑ ในสหชาตปัจจัย มี " ๗ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในนิสสยปัจจัย มีวาระ ๗ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๒ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๑ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๑ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๑ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๓ ในอาหารปัจจัย มี " ๔ ในอินทริยปัจจัย มี " ๖ ในฌานปัจจัย มี " ๓ ในมัคคปัจจัย มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๑ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๒ ในอัตถิปัจจัย มี " ๗ ในนัตถิปัจจัย มี " ๑ ในวิคตปัจจัย มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย มี " ๗ [๓๖] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉา- *ชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรมโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาต- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย. [๓๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๗ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สหชาตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๗ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๔ [๓๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " กับ ฯลฯ มี " ๓. [๓๙] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มี " ๒ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
พึงกระทำอนุโลมมาติกา.
ในอวิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๗.
สารัมมณทุกะ จบ.
จิตตทุกะ
ปฏิจจวาร
[๔๐] ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิตเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต. ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป อาศัยจิต. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ธรรมที่เป็นจิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัยคือ จิต อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตเกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ขันธ์ ๑ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิตเกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิต และหทัยวัตถุ [๔๑] ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นจิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ จิต ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทัยวัตถุ ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ ปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิตอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิตและจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิต และหทัยวัตถุ. [๔๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๕ ในอธิปติปัจจัย มี " ๕ ในอนันตรปัจจัย มี " ๕ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๕ ในสหชาตปัจจัย มี " ๕ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๕ ในนิสสยปัจจัย มี " ๕ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๕ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๕ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๕ ในกัมมปัจจัย มี " ๕ ในวิปากปัจจัย มี " ๕ ในอาหารปัจจัย มี " ๕ ในอินทริยปัจจัย มีวาระ ๕ ในฌานปัจจัย มี " ๕ ในมัคคปัจจัย มี " ๕ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในวิปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๕ ในนัตถิปัจจัย มี " ๕ ในวิคตปัจจัย มี " ๕ ในอวิคตปัจจัย มี " ๕ [๔๓] ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิตเกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอเหตุกจิต ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ อาศัยจิตที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตเกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ. ธรรมที่เป็นจิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตเกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ จิตและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่เป็นจิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ และ จิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิต และหทัยวัตถุ โมหะที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยจิตที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย. [๔๔] ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต ปฏิสนธิ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณ ปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย กฏัตตารูป อาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย. [๔๕] ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปปัจจัย มี ๕ นัย. ไม่ใช่เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ นัย. [๔๖] ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป อาศัยจิต. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์. ธรรมที่เป็นจิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ในปฏิสนธิขณะ จิต หทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาต ปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาต- *ปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตต- *สมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต และจิต จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต และมหาภูตรูป ทั้งหลาย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิต และหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย กฏัตตารูป อาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย. ไม่ใช่เพราะปัจฉาชาตปัจจัย ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย. [๔๗] ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยจิต. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ สัมมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐาน รูป ฯลฯ. อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต และจิต.
ฯลฯ
[๔๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓. [๔๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕.
ฯลฯ
[๕๐] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๕ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕.
สหชาตวาร เหมือนกับ ปฏิจจวาร.
[๕๑] ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือสัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต ปฏิสนธิ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ ตลอดถึงมหาภูตรูป ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นจิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต จิต อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิตและหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิตและหทัยวัตถุ. [๕๒] ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยหทัยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต ด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นจิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต จิต อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทัยวัตถุ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตและสัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจักขายตนะ กายวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย กายายตนะ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ ไม่ใช่จิต อาศัยจิต และหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิต และหทัยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ และจักขุวิญญาณ กายายตนะ ฯลฯ.
ฯลฯ
[๕๓] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๕ ในอธิปติปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๕ ในอวิคตปัจจัย มี " ๕. [๕๔] ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอเหตุกจิต ในอเหตุปฏิสนธิขณะ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย จิตที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่ ไม่ใช่จิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นจิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ จิต อาศัยหทัยวัตถุ อเหตุก- *ปฏิสนธิ ฯลฯ ในเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทัยวัตถุ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ อาศัย กายายตนะ ฯลฯ ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุ ปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ จิตและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ อเหตุกปฏิสนธิ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ อาศัย จักขายตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ ฯลฯ ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิต และหทัยวัตถุ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิต และหทัยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัย จักขายตนะ และจักขุวิญญาณ กายายตนะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และจิต.
ฯลฯ
[๕๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มีวาระ ๓ [๕๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕. [๕๗] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๕ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕.
นิสสยวาร เหมือนกับปฏิจจาร.
สังสัฏฐวาร
[๕๘] ธรรมที่ไม่ใช่จิต คลุกเคล้ากับธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย คลุกเคล้ากับจิต ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมที่ไม่ใช่จิต คลุกเคล้ากับธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ขันธ์ ๑ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๒ ปฏิสนธิ. ธรรมที่เป็นจิต คลุกเคล้ากับธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตคลุกเคล้ากับขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ปฏิสนธิ. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต คลุกเคล้ากับธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิต คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต คลุกเคล้ากับธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ.
ฯลฯ
[๕๙] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๕ ในอธิปติปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๕ ในอวิคตปัจจัย มี " ๕.
ฯลฯ
[๖๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๕.
การนับทั้งสอง นอกจากนี้ก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี พึงกระทำอย่างนี้ทั้งหมด.
ปัญหาวาร
[๖๑] ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่จิต โดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิต และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ. [๖๒] ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอารัมมณปัจจัย คือ จิต ปรารภจิต เกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล.
ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ปรารภจิต เกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล.
จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ปรารภจิต เกิดขึ้น. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน รักษาศีล กระทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณาซึ่งกุศลธรรมนั้น ย่อม ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลธรรมนั้น ราคะเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสเกิดขึ้น กุศลธรรมที่ตนอบรมดีแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว พิจารณาซึ่งฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลาย ออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่อาวัชชนะ โดย อารัมมณปัจจัย พระอริยทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่ไม่ใช่จิต พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลส ทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นในกาลก่อน บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ และขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต โดยความ เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพยจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียง ด้วยธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่บุพเพ- *นิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอารัมมณปัจจัย มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีตอนต้น ที่ว่าบุคคลให้ทาน ฯลฯ ไม่มีแตกต่างกัน. ข้อที่ต่างกันมีแต่ว่า รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ. ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ฯลฯ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณ- *ปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอารัมมณปัจจัย มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีตอนต้น ที่ว่าบุคคลให้ทาน ฯลฯ ไม่มีแตกต่างกัน. ข้อที่ต่างกันมีแต่ว่า รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โผฏฐัพ- *พายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต เป็น ปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ฯลฯ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอารัมมณปัจจัย คือ จิต ปรารภจิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย มี ๓ นัย. [๖๓] ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ จิต ทำจิตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว เกิดขึ้น. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอธิปติปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ อารัมมณา- *ธิปติ สหชาตาธิปติ. ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ทำจิตให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่นแล้ว เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ จิตตาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ทำจิตให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว เกิดขึ้น. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ. ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ บุคคลกระทำกุศล- *ธรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ย่อมยินดีย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำ กุศลธรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น ฯลฯ กุศลธรรมที่ตนอบรมดีแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค ผล ฯลฯ นิพพาน ฯลฯ กระทำให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล โดยอธิปติปัจจัย บุคคลกระทำจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่น ราคะเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอธิปติปัจจัย คำอธิบายทั้งสองอย่างนี้ เหมือนกับคำอธิบายตามบาลีตอนต้น ไม่มีแตกต่างกัน พึง กระทำอารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ แม้ทั้ง ๓ นัย ธรรมที่พึงทำให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่น ก็เป็นอารัมมณาธิปติอย่างเดียว. [๖๔] ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอนันตรปัจจัย คือ จิตที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอนันตรปัจจัย คือ จิตที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตที่เกิดหลังๆ โดยอนันตร- *ปัจจัย จิตเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอนันตรปัจจัย คือ จิตที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย อนันตรปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดย อนันตรปัจจัย ข้อความที่จะยกมาอธิบายบททั้งสองนี้โดยบริบูรณ์ เหมือนกับข้อความตามบาลีที่มีอยู่ ข้างต้น. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอนันตรปัจจัย คือ จิตที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย.
พึงถามถึงมูล
จิตที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตที่ เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดย อนันตรปัจจัย.
พึงถามถึงมูล
จิตที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลังๆ และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอนันตรปัจจัย. เป็นปัจจัย โดยสมนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ นัย เหมือนกับ ปฏิจจวาร เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร เป็นปัจจัย โดยนิสสยปัจจัย มี ๕ นัย เหมือนกับปัจจยวาร [๖๕] ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ จิตเป็นปัจจัยแก่จิต โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ นัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาให้ทาน ฯลฯ ก่อมานะ ยึดถือ ทิฏฐิ เข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ และเสนาสนะ ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอุปนิสสยปัจจัย ข้อความที่จะยกมาอธิบายบททั้งสองนี้ให้สมบูรณ์ เหมือนกับข้อความตามบาลี ที่มีอยู่ ข้างต้น ไม่มีแตกต่างกัน. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิต โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ นัย. [๖๖] ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่าง ๒ คือ อารัมมณะปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็น ของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย. ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุ วิญญาณ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต โดยปุเรชาตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่เป็นจิต โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็น ของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ. ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิต โดยปุเรชาตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยปุเรชาตปัจจัย กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยปุเรชาตปัจจัย. [๖๗] ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ [๖๘] ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ นัย. [๖๙] ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่เจตนาที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย และ กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่จิต โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่วิบากจิต โดยกัมมปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย และจิต และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. [๗๐] ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยวิปากปัจจัย มี ๕ นัย เป็น ปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๕ นัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย มี ๕ นัย. [๗๑] ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยฌานปัจจัย มี ๓ นัย เป็น ปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ นัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ นัย. [๗๒] ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยวิปปยุตต- *ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต โดยวิปปยุตตปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต โดยวิปปยุตตปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต โดยวิปปยุตตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่จิต และวิปปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต.
ฯลฯ
[๗๓] ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาตได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่จิต ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่ใช่จิต ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เหมือนกับปุเรชาต ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิต และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ไม่ใช่จิต ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ เหมือนกับปุเรชาต ฯลฯ. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิตและจิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ จิตและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต โดย อัตถิปัจจัย แม้ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ จิตและมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกพฬิงการาหาร เป็นปัจจัย แก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัย แก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย. [๗๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย มี " ๕ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๕ ในนิสสยปัจจัย มี " ๕ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มีวาระ ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๕ ในอาหารปัจจัย มี " ๕ ในอินทริยปัจจัย มี " ๕ ในฌานปัจจัย มี " ๓ ในมัคคปัจจัย มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๕ ในนัตถิปัจจัย มี " ๙ ในวิคตปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๕. [๗๕] ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมม- *ปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยกัมมปัจจัย. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย. [๗๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๙. [๗๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตร- ปัจจัยกับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญ- ปัจจัยกับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสย- ปัจจัยกับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยทั้งปวงกับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคค- ปัจจัยกับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตต- ปัจจัยกับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตต- ปัจจัยกับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิ ปัจจัยกับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัยกับ ฯลฯ มี " ๓. [๗๘] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
พึงกระทำอนุโลม ปฏิโลมมาติกา.
จิตตตุกะ จบ
เจตสิกทุกะ
ปฏิจจวาร
[๗๙] ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ในปฏิสนธิขณะ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ จิตและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยจิต หทัยวัตถุอาศัยจิต จิตอาศัยหทัยวัตถุ มหาภูต- *รูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ จิต ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก อาศัย หทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ จิต ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และมหาภูตรูปทั้งหลาย ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และมหาภูตรูปทั้งหลาย ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและหทัยวัตถุ ขันธ์ ๑ และจิต อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ. [๘๐] ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ปฏิสนธิ. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ จิต ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ซึ่งเป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. [๘๑] ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย.
ฯลฯ
[๘๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๕ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๕ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙. [๘๓] ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ซึ่งเป็นอเหตุกะ อเหตุกปฏิสนธิ. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ซึ่งเป็น อเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกปฏิสนธิ. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิตซึ่งเป็นอเหตุกะ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยจิต หทัยวัตถุอาศัยจิต จิตอาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิตซึ่งเป็นอเหตุกะ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก อาศัยหทัยวัตถุ โมหะที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยจิตที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะเหตุปัจจัย คือสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิตซึ่งเป็นอเหตุกะ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป อาศัยจิต ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ซึ่งเป็นอเหตุกะ และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และจิต. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ซึ่งเป็นอเหตุกะ และจิต จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ซึ่งเป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และมหาภูตรูป ทั้งหลาย ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ซึ่งเป็นอเหตุกะ และจิต ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. [๘๔] ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต ปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และวิญญาณ และจิต จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และมหาภูตรูปทั้งหลาย ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.
ฯลฯ
[๘๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓. [๘๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัยกับเหตุปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัยกับ ฯลฯ มี " ๙.
ฯลฯ
[๘๗] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๙ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
สหชาตวาร เหมือนกับปฏิจจวาร.
ปัจจยวาร
[๘๘] ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต จิต อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต หทัยวัตถุ อาศัยจิต จิต อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายอาศัยจิต ขันธ์อันเป็นเจตสิก อาศัยหทัยวัตถุ ใน ปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต จิตและสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ พึงทำ ทั้ง ๒ นัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และ จิต จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และมหาภูตรูปทั้งหลาย จิตอาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๓ นัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย. [๘๙] ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนปฏิจจวาร. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ จิตอาศัย หทัยวัตถุ ปฏิสนธิ. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ อาศัยกายายตนะ ฯลฯ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจักขายตนะ อาศัย กายายตนะ ฯลฯ จิตและสัปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ นัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขุวิญญาณ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคต ด้วยกายวิญญาณ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ มี ๒ นัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ จิตอาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ ปฏิสนธิ มี ๑ นัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรม ที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และ จักขายตนะ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และ หทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ มี ๑ นัย.
ฯลฯ
[๙๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙. [๙๑] ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ เจตสิกที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ. มีวาระ ๙ แม้ปัญจวิญญาณ พึงกระทำเหมือน อารัมมณปัจจัย โมหะ มีในหัวข้อปัจจัย ๓ เท่านั้น หัวข้อปัจจัยทั้งปวง ผู้มีปัญญาพึงกระทำ โดยปวัตติ และปฏิสนธิ. [๙๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓. [๙๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัยกับเหตุปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙.
ฯลฯ
[๙๔] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัย ที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๙ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙.
สังสัฏฐวาร
[๙๕] ธรรมที่เป็นเจตสิก คลุกเคล้ากับธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก คลุกเคล้ากับธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิต คลุกเคล้ากับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ปฏิสนธิ. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก คลุกเคล้ากับธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิต คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. ธรรมที่เป็นเจตสิก คลุกเคล้ากับธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย คลุกเคล้ากับจิต ปฏิสนธิ. ธรรมที่เป็นเจตสิก คลุกเคล้ากับธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ.
ฯลฯ
[๙๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๕ ในอธิปติปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๕ ในอวิคตปัจจัย มี " ๕. [๙๗] ธรรมที่เป็นเจตสิก คลุกเคล้ากับธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ เหตุปัจจัย พึงกระทำหัวข้อปัจจัยทั้ง ๕ ข้ออย่างนี้ โมหะ มีในหัวข้อปัจจัย ๓ เท่านั้น.
ฯลฯ
[๙๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๕.
การนับทั้งสอง นอกจากนี้ก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.
ปัญหาวาร
[๙๙] ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เป็นเจตสิก โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายและจิต และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายโดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ. [๑๐๐] ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น
พึงถามถึงมูล
จิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น.
พึงถามถึงมูล
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลาย พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก โดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น จิต เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ บุคคลรู้ซึ่งจิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ซึ่งเป็นธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดย เจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีข้างต้น จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ที่ไม่ใช่เจตสิก โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ บุคคลรู้ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก โดยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณแก่ บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดย อารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณานิพพาน มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีข้างต้น. จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก โดยความเป็น ของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น จิต และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพจักขุ. รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอารัมมณปัจจัย โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต เกิดขึ้น.
พึงถามถึงมูล
จิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต เกิดขึ้น.
พึงถามถึงมูล
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต เกิดขึ้น [๑๐๑] ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยอารัมมณปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ. ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว เกิดขึ้น. ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย.
พึงถามถึงมูล
ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ จิต ทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้ว เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัย แก่จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย.
พึงถามถึงมูล
ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ทำขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเจตสิกให้หนักแน่นแล้ว เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย และจิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดยอธิปติปัจจัย. มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ. ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลายทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว พิจารณา นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล โดยอธิปติปัจจัย จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลทำขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง จิต ทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว เกิดขึ้น. ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่จิต และจิต สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลายทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีข้างต้น. จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลทำขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิกให้หนักแน่น ย่อม ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดย อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลาย นิพพาน ฯลฯ มีคำอธิบายเหมือนกับ ข้อความตามบาลีข้างต้น. บุคคลทำขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมยินดี ย่อม เพลิดเพลินยิ่ง เพราะทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และ จิต เกิดขึ้น. ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ มี ๓ นัย เป็นอารัมมณาธิปติอย่างเดียว. [๑๐๒] ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย.
พึงถามถึงมูล
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย.
พึงถามถึงมูล
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกที่เกิด หลังๆ และจิต โดยอนันตรปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดยอนันตรปัจจัย คือ จิตที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยอนันตรปัจจัย พึงกระทำเป็น ๓ นัย ดังที่กล่าวมา พึงยังคำอธิบายให้บริบูรณ์ เหมือนกับข้อความตาม บาลีข้างต้น ไม่มีแตกต่างกัน. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดย อนันตรปัจจัย มี ๓ นัย อาวัชชนะก็ดี วุฏฐานะก็ดี ไม่มี. เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๙ นัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๙ นัย เหมือน กับปฏิจจวาร เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร เป็นปัจจัยโดย นิสสยปัจจัย มี ๙ นัย เหมือนกับปัจจยวาร. [๑๐๓] ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเจตสิก โดยอุปนิสสยปัจจัย.
พึงถามถึงมูล มี ๓ นัย
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก อันเป็นที่เข้าไปอาศัย เป็นปัจจัยแก่จิต โดยอุปนิสสยปัจจัย.
พึงถามถึงมูล มี ๓ นัย
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกอันเป็นที่เข้าไปอาศัย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต โดยอุปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัย ฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัย ฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต แล้วให้ทาน มี ๓ นัย มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีข้างต้น ไม่มีแตกต่างกัน. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ นัย. [๑๐๔] ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความ เป็นของไม่เที่ยง ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น จิต เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ. ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะเป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิต โดยปุเรชาตปัจจัย ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความ เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ. ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วย จักขุวิญญาณ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก โดย ปุเรชาตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดย ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความ เป็นของไม่เที่ยง ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น จิต และสัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลายเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ. ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย ปุเรชาตปัจจัย. [๑๐๕] ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดยปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดยปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดย ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ. [๑๐๖] ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยอาเสวนปัจจัย. [๑๐๗] ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่วิบากจิต และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดย กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิต และจิตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย และจิต และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. [๑๐๘] ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยวิปากปัจจัย มี ๙ นัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๙ นัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย มี ๙ นัย เป็นปัจจัยโดย ฌานปัจจัย มี ๓ นัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ นัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ นัย. [๑๐๙] ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ จิตเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย จิต เป็นปัจจัยแก่ หทัยวัตถุ โดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิต โดยวิปปยุตตปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยวิปปยุตตปัจจัย กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยวิปปยุตตปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ จิต เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น เจตสิก โดยวิปปยุตตปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก โดยวิปปยุตตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น เจตสิก และจิต โดยวิปปยุตตปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย วิปปยุตตปัจจัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ฯลฯ. [๑๑๐] ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยอัตถิปัจจัย มี ๑ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดย อัตถิปัจจัย มี ๑ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ จิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก โดยอัตถิปัจจัย ใน ปฏิสนธิขณะ จิต ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาหทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เหมือนกับปุเรชาต ไม่มีแตกต่างกัน. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดย อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ จิต ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต โดย อัตถิปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาหทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เหมือนกับปุเรชาต ไม่มีแตกต่างกัน. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดย อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ และจิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ และจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดย อัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็น ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๓ นัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็น ปุเรชาต โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต และกพฬิงการาหาร เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต และรูปชีวิตินทรีย์ เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรม ที่ไม่ใช่เจตสิก โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกายวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิต โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย. [๑๑๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มีวาระ ๙ ในอาหารปัจจัย มี " ๙ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๓ ในมัคคปัจจัย มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๙ ในวิคตปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙ [๑๑๒] ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรม ที่ไม่ใช่เจตสิก โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย. [๑๑๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๙. [๑๑๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยทั้งปวง กับเหตุปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓. [๑๑๕] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙.
พึงกระทำอนุโลมมาติกา.
ในอวิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙.
เจตสิกทุกะ.
จิตตสัมปยุตตทุกะ
ปฏิจจวาร
[๑๑๖] จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ ใน ปฏิสนธิ ฯลฯ จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม และ จิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย. [๑๑๗] จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ฯลฯ
[๑๑๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มีวาระ ๕ ในอนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๑ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๑ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๙ ในอาหารปัจจัย มี " ๙ ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในวิปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๓ ในวิคตปัจจัย มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙ [๑๑๙] จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ. พึงกระทำหัวข้อปัจจัยทั้ง ๙ ข้อดังกล่าวมา พึงกำหนดในบททั้งปวงว่า อเหตุกะ โมหมูล อย่างเดียวเท่านั้น พึงให้เต็ม. [๑๒๐] จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ปฏิสนธิ. จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ มหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์. จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลายในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
ฯลฯ
[๑๒๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓. [๑๒๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓. [๑๒๓] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙.
สหชาตวาร เหมือนกับปฏิจจวาร.
ปัจจยวาร
[๑๒๔] จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. จิตตวิปปยุตตถรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ ปฏิสนธิ. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย ปฏิสนธิ. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย ปฏิสนธิ. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม และ จิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ปฏิสนธิ. [๑๒๕] จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ ปฏิสนธิ. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และ หทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ. [๑๒๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙. [๑๒๗] จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ มหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ ปฏิสนธิ โมหะ ที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทัยวัตถุ. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ปฏิสนธิ. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณและกายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น จิตตสัมปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทัยวัตถุ. พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๒ ข้อดังกล่าวมาแล้ว ทั้งปวัตติ และปฏิสนธิ.
ฯลฯ
[๑๒๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓. [๑๒๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓. [๑๓๐] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙.
นิสสยวาร เหมือนกับปัจจยวาร.
สังสัฏฐวาร
[๑๓๑] จิตตสัมปยุตตธรรม คลุกเคล้ากับจิตตสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. [๑๓๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๑ ในอธิปติปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑. [๑๓๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๑
การนับทั้งสองนอกจากนี้ก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.
ปัญหาวาร
[๑๓๔] จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ. [๑๓๕] จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ บุคคลกระทำซึ่งอุโบสถกรรม แล้วพิจารณา ซึ่งกุศลธรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะเกิดขึ้น โทมนัสเกิดขึ้น กุศลกรรมที่ตนอบรมดีแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาซึ่งฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณากิเลสทั้งหลาย ที่ละแล้ว ที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลาย ที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตตสัมปยุตตธรรม โดยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดย อารัมมณปัจจัย จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่อาวัชชนะ โดย อารัมณปัจจัย บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตวิปปยุตตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่บุพเพนิวาสา- *นุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย. [๑๓๖] จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ. ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ บุคคลกระทำกุศล นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศล กรรมนั้นให้หนักแน่น ราคะเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น กาลก่อน ฯลฯ ฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น. ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัย แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย, จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่พระอริยะทั้งหลายทำนิพพาน ให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล โดยอธิปติปัจจัย บุคคลกระทำจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตวิปปยุตตธรรมให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ราคะเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น. [๑๓๗] จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย. เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๗ นัย เหมือนกับ ปฏิจจวาร ปัจจัยสงเคราะห์ไม่มี. เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ นัย เหมือนกับปัจจยวาร ปัจจัยสงเคราะห์ไม่มี. [๑๓๘] จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ก่อมานะ ย่อมยึดถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย แล้วให้ ทาน ฯลฯ ฆ่าสัตว์ที่มีชีวิต ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่มรรค ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ โดย อุปนิสสยปัจจัย. [๑๓๙] จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย จักขุวิญญาณ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย ปุเรชาตปัจจัย. [๑๔๐] จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๑ นัย ฯลฯ. [๑๔๑] จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่เจตนาที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยเก่าวิบากขันธ์ ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่เจตนาที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. [๑๔๒] จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยวิปากปัจจัย มี ๓ นัย [๑๔๓] จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอาหารปัจจัย มี ๓ นัย. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กพฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอาหารปัจจัย. [๑๔๔] จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอินทริยปัจจัย มี ๓ นัย. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ โดยอินทริยปัจจัย กายินทรีย์ ฯลฯ จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ โดยอินทริยปัจจัย กายินทรีย์และสุขินทรีย์ กายินทรีย์ และทุกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ โดยอินทริยปัจจัย. เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ นัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ นัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ นัย. [๑๔๕] จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น จิตตสัมปยุตตธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วย จักขุวิญญาณ โดยวิปปยุตตปัจจัย กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น จิตตสัมปยุตตธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย. [๑๔๖] จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๑ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม โดย อัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาร. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต อาหาร อินทรีย์ ฯลฯ. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เหมือนกับปุเรชาต. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัย แก่ ขันธ์ ๒ ฯลฯ กายายตนะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ จิตตสัมปยุตตขันธ์ และมหาภูตรูปทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ปฏิสนธิ. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ จิตตสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกพฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่ กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ จิตตสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัย แก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย. [๑๔๗] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๒ ในอธิปติปัจจัย มี " ๔ ในอนันตรปัจจัย มี " ๑ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๑ ในสหชาตปัจจัย มีวาระ ๗ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในนิสสยปัจจัย มี " ๗ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๒ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๑ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๑ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๑ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๓ ในอาหารปัจจัย มี " ๔ ในอินทริยปัจจัย มี " ๖ ในฌานปัจจัย มี " ๓ ในมัคคปัจจัย มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๑ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๒ ในอัตถิปัจจัย มี " ๗ ในนัตถิปัจจัย มี " ๑ ในวิคตปัจจัย มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย มี " ๗ [๑๔๘] จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย. จิตตสัมปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม โดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม โดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม โดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย. [๑๔๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สหชาตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๔ [๑๕๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓. [๑๕๑] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัย ที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มี " ๒ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔
พึงกระทำอนุโลมมาติกา.
ในอวิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มี " ๗
จิตตสัมปยุตตทุกะ จบ.
จิตตสังสัฏฐทุกะ
ปฏิจจวาร
[๑๕๒] จิตตสังสัฏฐธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. จิตตวิสังสัฏฐธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏธรรม ปฏิสนธิ. จิตตสังสัฏฐทุกะ พึงกระทำเหมือนจิตตสัมปยุตตทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน.
จิตตสังสัฏฐทุกะ จบ.
จิตตสมุฏฐานทุกะ
ปฏิจจวาร
[๑๕๓] จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ในปฏิสนธิขณะ จิตและกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิด ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐาน- *ธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต หทัยวัตถุ อาศัยจิต จิตอาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยหทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ- *ฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูปอาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุเป็นจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรมและธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ- *ฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ในปฏิสนธิขณะ อุปาทารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ จิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. [๑๕๔] จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตอาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ปฏิสนธิ. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิด ขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทัยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต- *สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และ หทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๕๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๕ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๕ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๕ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๙ ในอาหารปัจจัย มี " ๙ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๙ ในมัคคปัจจัย มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในวิคตปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙. [๑๕๖] จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นจิตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะเหตุปัจจัย คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต หทัยวัตถุ อาศัยจิต จิตอาศัย หทัยวัตถุ พึงกระทำมหาภูตรูป ๑ จนถึงอสัญญสัตว์. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิตซึ่งเป็นอเหตุกะ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยหทัยวัตถุ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทัยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตต- *สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูปอาศัยจิต ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และจิต. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต- *สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐาน- *ธรรม และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และ หทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. [๑๕๗] จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณ- *ปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต หทัยวัตถุ อาศัยจิต มหาภูตรูป ๑ ตลอด ถึงอสัญญสัตว์. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณ- *ปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต- *สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.
ฯลฯ
[๑๕๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มีวาระ ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๖. [๑๕๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัยกับเหตุปัจจัย มีวาระ ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖. [๑๖๐] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙.
สหชาตวาร เหมือนกับปฏิจจวาร
ปัจจยวาร
[๑๖๑] จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ จิต อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ เหมือนกับปฏิจจวาร. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต- *สมุฏฐานธรรม อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตต- *สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะเหมือนกับ ปฏิจจวาร ทั้ง ๒ นัย. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ เป็นที่จิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ เหมือน กับปฏิจจวารทั้ง ๒ นัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต- *สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๓ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. [๑๖๒] จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายายตนะ ฯลฯ จิต อาศัยหทัยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจักขุวิญญาณ กายวิญญาณ ฯลฯ สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย อาศัยจิต ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตต- *สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจักขายตนะ กายายตนะ ฯลฯ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ ปฏิสนธิ. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ พึงทำ ทั้ง ๒ นัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต- *ฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ที่ สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ จิตอาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และ จักขายตนะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๖๓] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙. [๑๖๔] จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย พึงกระทำหัวข้อปัจจัยหมดทั้ง ๙ ข้อ เหมือนกับปฏิจจวาร แม้ปัญจวิญญาณ ก็พึง กระทำโมหะ มีทั้ง ๓ นัย. [๑๖๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๖.
การนับทั้งสองนอกจากนี้ก็ดี นิสสยวารก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.
สังสัฏฐวาร
[๑๖๖] จิตตสมุฏฐานธรรม คลุกเคล้ากับจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม คลุกเคล้ากับจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ จิต คลุกเคล้ากับขันธ์ทั้งหลายเป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ปฏิสนธิ. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม คลุกเคล้ากับจิตตสมุฏฐาน- *ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตคลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. จิตตสมุฏฐานธรรม คลุกเคล้ากับธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย คลุกเคล้ากับจิต ปฏิสนธิ. จิตตสมุฏฐานธรรม คลุกเคล้ากับจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต- *สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ ฯลฯ. [๑๖๗] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๕ ในอวิคตปัจจัย มี " ๕. [๑๖๘] จิตตสมุฏฐานธรรม คลุกเคล้ากับจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ เหตุปัจจัย พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๕ โมหะมีทั้ง ๓ นัย. [๑๖๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๕.
การนับทั้งสองนอกจากนี้ก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.
ปัญหาวาร
[๑๗๐] จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตและกฏัตตา- *รูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และ จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ. [๑๗๑] จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล
จิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตต- *สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่อาวัชชนะ โดย อารัมมณปัจจัย จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุเป็นต้น จิต เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยจิต ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดย เจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณ- *ปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีที่มี อยู่ข้างต้น จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ. รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต- *สมุฏฐานธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีที่มีอยู่ ข้างต้น บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายเกิดขึ้น ด้วยทิกพจักขุ ฯลฯ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย พึงกระทำ เพราะปรารภ ๓ นัย. [๑๗๒] จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ. ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม กระทำขันธ์ทั้ง หลาย เป็นจิตตสมุฏฐานธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วเกิดขึ้น. ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. อารัมมณาธิปติก็ดีสหชาตาธิปติก็ดี พึงกระทำทั้ง ๓ นัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลายกระทำนิพพานให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น จิตเกิดขึ้น ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ. ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลาย กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ราคะเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น. ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานธรรมรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลายกระทำนิพพานให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ มี ๓ นัย เป็นอารัมมณาธิปติอย่างเดียว. [๑๗๓] จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอนันตรปัจจัย มี ๓ นัย วุฏฐานะไม่มี. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดย อนันตรปัจจัย คือ จิต ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลังๆ ฯลฯ แก่ผู้ที่ออกจากนิโรธ เนว- *สัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย. การนับสองอย่างนอกจากนี้ พึงกระทำเหมือนอย่างนี้. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม โดยอนันตรปัจจัย พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๓ วุฏฐานะไม่มี. [๑๗๔] จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยสหชาตปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาร. เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาร. เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย เหมือนกับปัจจยวาร. [๑๗๕] จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต เป็นปัจจัยแก่จิต โดยอุปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต แล้วให้ทาน ทำลายสงฆ์ ฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต เป็นปัจจัย แก่ศรัทธา ฯลฯ แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต- *สมุฏฐานธรรม และจิต โดยอุปนิสสยปัจจัย. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูป- *นิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ มีหัวข้อปัจจัย ๓. [๑๗๖] จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลาย ที่เป็น จิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลาย โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลายที่เป็นจิตต- *สมุฏฐานธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลายโดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน ยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้น จิตเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดย ปุเรชาตปัจจัย. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลาย ที่เป็น จิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลาย โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อม เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้น จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยปุเรชาตปัจจัย โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดย ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ กาย ฯลฯ รูปทั้งหลาย ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลาย โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภจักขุเป็น ต้นนั้น จิตเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ. ที่เป็นวัตถุปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต โดยปุเรชาตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่างคือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความ เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ. ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย จักขุวิญญาณ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐาน ธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นแก่จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ ด้วยทิพพโสตธาตุ ฯลฯ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ. ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยปุเรชาตปัจจัย. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน ธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. คือ รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย โผฏฐัพพายตนะที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วย จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และกายายตนะ ฯลฯ. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. คือ รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิตโดย ปุเรชาตปัจจัย โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ ฯลฯ รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และกายายตนะ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. คือ รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยปุเรชาตปัจจัย โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทัยวัตถุ ฯลฯ รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยปุเรชาตปัจจัย โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ. [๑๗๗] จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็น จิตตสมุฏฐานธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย พึงให้พิสดารโดยอาการนี้. เป็นปัจจัย โดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ นัย. [๑๗๘] จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากจิต และ กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. และที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิต จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. และที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และจิต กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. [๑๗๙] จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยวิปากปัจจัย มี ๙ นัย [๑๘๐] จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย ปฏิสนธิ.
พึงกระทำมูล
อาหารทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ กวฬิงการาหาร ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรมนี้ โดยอาหารปัจจัย.
พึงกระทำมูล
อาหารทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และ จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย ปฏิสนธิ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดย อาหารปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม นี้ โดยอาหารปัจจัย.
พึงกระทำมูล
อาหารทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย ปฏิสนธิ.
พึงกระทำมูล
ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็น เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย ปฏิสนธิ.
พึงกระทำมูล
ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัย แก่กายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรมนี้ โดยอาหารปัจจัย.
พึงกระทำมูล
ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย. [๑๘๑] จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอินทริยปัจจัย มี ๓ นัย ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดย อินทริยปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย.
พึงกระทำมูล
อินทรีย์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ กายินทรีย์ ฯลฯ.
พึงกระทำมูล
ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคต ด้วยจักขุวิญญาณ โดยอินทริยปัจจัย กายินทรีย์ ฯลฯ. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต ด้วยจักขุวิญญาณ กายินทรีย์ และสุขินทรีย์ กายินทรีย์ และทุกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ โดยอินทริยปัจจัย.
พึงกระทำมูล
ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ- *ฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายินทรีย์ ฯลฯ
พึงกระทำมูล
ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย กายินทรีย์ ฯลฯ. เป็นปัจจัย โดยฌานปัจจัย มี ๓ นัย เป็นปัจจัย โดยมัคคปัจจัย มี ๓ นัย เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ นัย [๑๘๒] จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาต ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดย วิปปยุตตปัจจัย จิต เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิต โดยวิปปยุตตปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต โดยวิปปยุตตปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่ ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. [๑๘๓] จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร ฯลฯ. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดย อัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร ฯลฯ. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน ธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ. จิตตสมุฏฐานธรรม ที่เป็นสหชาต ฯลฯ พึงกระทำให้เหมือนกับปัจจยวาร ทั้งปฏิสนธิ และปวัตติ ตลอดจนหัวข้อปัจจัยทั้งปวง. ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง และจิต เป็นปัจจัยแก่กายที่ ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย. คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง และจิต และกวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรมนี้ โดยอัตถิปัจจัย. ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง และจิต และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต. คือ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ที่เกิดร่วมกัน ฯลฯ. ปัจจยวาร เหมือนกับสหชาต พึงกระทำบทว่า สหชาตทุกนัย. เป็นปัจจัย โดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัย โดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอวิคตปัจจัย. [๑๘๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มีวาระ ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๓ ในมัคคปัจจัย มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙. [๑๘๕] จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริย- *ปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสย- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสย- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- *ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย. [๑๘๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๙ [๑๘๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๑๘๘] ในอารัมมณปัจจัย กับ มีวาระ ๙ ที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙.
พึงกระทำการนับอนุโลม.
ในอวิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มี ๙.
จิตตสมุฏฐานทุกะ จบ
-----------------------------------------------------
จิตตสหภุทุกะ
ปฏิจจวาร
[๑๘๙] จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น จิตตสหภูธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตและจิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น จิตตสหภูธรรม ในปฏิสนธิขณะ จิตและกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิต และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตต- *สหภูธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต หทัยวัตถุ อาศัยจิต จิต อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม และกฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยหทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่ จิตตสหภูธรรม อาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป อาศัยจิต ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรมที่เป็นอุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตต- *สหภูธรรม และจิต ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น จิตตสหภูธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ในปฏิสนธิขณะ จิตอาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และหทัยวัตถุ จิตต- *สมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น จิตตสหภูธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และธรรมที่ ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และ จิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และหทัย- *วัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ฯลฯ. [๑๙๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอรูปทั้งหมดพึงยกขึ้นแสดงเหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ. ในอธิปติปัจจัย มีวาระ ๙ มหาภูตรูปทั้งหลาย พึงกระทำในมีวาระ ๖ ข้อ ในอธิปติปัจจัย ไม่มีในมีวาระ ๓. ในอนันตรปัจจัย มีวาระ ๙ ในสมนันตรปัจจัย มีวาระ ๙ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๕ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๕ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙. [๑๙๑] จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น จิตตสหภูธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทัธจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทัธจจะ. พึงทำหัวข้อปัจจัยทั้ง ๙ ข้อดังกล่าวมา พึงกำหนดคำว่า อเหตุกะในอนุโลม ท่าน จำแนกไว้อย่างใด พึงทำอย่างนั้น โมหะ มี ๓ นัย ในจิตตสมุฏฐานทุกะ ท่านจำแนกไว้อย่าง ใด พึงทำอย่างนั้น. [๑๙๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่อารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙. [๑๙๓] จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ กัมมปัจจัย คือ พาหิร ฯลฯ อาหาร ฯลฯ อุตุ ฯลฯ. จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยจิต. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะกัมมปัจจัย คือสัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต. [๑๙๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มีวาระ ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑. [๑๙๕] จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย ฯลฯ สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ [๑๙๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มีวาระ ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๙.
การนับสองอย่าง นอกจากนี้ พึงกระทำอย่างนี้.
แม้สหชาตวาร ก็เหมือนกับปฏิจจวาร.
ปัจจยวาร
[๑๙๗] จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิต อาศัยหทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิต ปฏิสนธิ เหมือนกับปฏิจจวาร มหาภูตรูปทั้งหมด. จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยจิต ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยหทัยวัตถุ ปฏิสนธิ มหาภูตรูปทั้งหมด เหมือนกับ ปฏิจจวาร. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่ จิตตสหภูธรรม อาศัยจิต จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ ปฏิสนธิ เหมือน กับ ปฏิจจวาร มหาภูตรูปทั้งหมด. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตต- *สหภูธรรม และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และหทัย- *วัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ เหมือนกับปฏิจจวาร มหาภูตรูปทั้งหมด. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภู- *ธรรม และจิต จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และหทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ปฏิสนธิ เหมือนกับปฏิจจวาร มหาภูตรูปทั้งหมด. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และ ธรรมที่ ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสห- *ภูธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ เหมือนกับปฏิจจวาร มหาภูตรูปทั้งหมด. [๑๙๘] จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายายตนะ ฯลฯ. นี้เหมือนอารัมมณปัจจัย ใน ปัจจยวาร ในจิตตสมุฏฐานทุกะ พึงกระทำปัญจวิญญาณมูลแก่ธรรมเหล่านี้ทั้ง ๖ อย่าง ฯลฯ. [๑๙๙] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙. [๒๐๐] จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ. พึงกระทำทุกอย่าง ปัญจวิญญาณแห่งปัจจยวาร มูล แห่งธรรมทั้ง ๖ ก็พึงกระทำ มหาภูตรูปทั้งหมด โมหะ มี ๓ นัยเหมือนกัน ฯลฯ.

             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ บรรทัดที่ ๑-๓๒๔๒ หน้าที่ ๑-๑๒๕. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=1&Z=3242&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=43&item=1&items=876              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=43&item=1&items=876&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=43&item=1&items=876              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=43&item=1&items=876              ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=1              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ https://84000.org/tipitaka/read/?index_43 https://84000.org/tipitaka/english/?index_43

แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]