ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับภาษาไทย   บาลีอักษรไทย   บาลีอักษรโรมัน 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๑ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
เหตุทุกอุปปันนัตติกะ
ปัญหาวาร
[๗๔๙] อุปปันนธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรมที่เป็นเหตุ โดยเหตุปัจจัย มี ๓ นัย [๗๕๐] อุปปันนธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรมที่ไม่ใช่เหตุ โดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย [๗๕๑] อุปปันนธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรมที่เป็นเหตุ โดยอธิปติปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๑๖๖.

มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ มี ๓ นัย อุปปันนธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรมที่ไม่ใช่เหตุ โดย อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ มี ๓ นัย [๗๕๒] อุปปันนธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรมที่เป็นเหตุ โดยสหชาตปัจจัย [๗๕๓] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๖ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ คือ บุคคลผู้ยังฌานให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ยังมรรคให้เกิดขึ้น ยังอภิญญาให้เกิดขึ้น ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น เพราะอาศัยอุตุที่เกิดขึ้นแล้ว ในปุเรชาตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๙ ในอาหารปัจจัย มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๓ ในมัคคปัจจัย มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๑๖๗.

ในอัตถิปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙ [๗๕๔] อุปปันนธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรมที่เป็น เหตุ โดยสหชาตปัจจัย [๗๕๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙ [๗๕๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อ ปัจจัย ๓ [๗๕๗] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อ ปัจจัย ๓ อนุโลมก็ดี ปัจจนียะก็ดี อนุโลมปัจจนียะก็ดี ปัจจนียานุโลมก็ดี แห่ง ปัญหาวาร ในกุสลัตติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น ในทุกะนี้ ปฏิจจวารก็ดี สหชาตวารก็ดี ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี อนุปปันนธรรมก็ดี อุปาทิธรรมก็ดี ไม่มี
เหตุทุกอุปปันนัตติกะ จบ

             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ บรรทัดที่ ๓๙๘๑-๔๐๒๘ หน้าที่ ๑๖๕-๑๖๗. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=44&A=3981&Z=4028&pagebreak=1 https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=44.1&item=749&items=9&pagebreak=1              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=44.1&item=749&items=9&pagebreak=1&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=44.1&item=749&items=9&pagebreak=1              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=44.1&item=749&items=9&pagebreak=1              ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=44.1&i=749              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ https://84000.org/tipitaka/read/?index_44 https://84000.org/tipitaka/english/?index_44

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]