ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
 ฉบับหลวง   บาลีอักษรไทย    PaliRoman 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๘ สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
๓. สุวัณณนิกขสูตร
[๕๖๔] ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากำหนดรู้ใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้บุคคล บางคนในโลกนี้อย่างนี้ว่า แม้เพราะแท่งทองคำเป็นเหตุ ... ฯ
จบสูตรที่ ๓
๔. สุวัณณนิกขสตสูตร
... ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากำหนดใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้บุคคลบางคนใน โลกนี้อย่างนี้ว่า แม้เพราะร้อยแห่งแท่งทองคำเป็นเหตุ ... ฯ
จบสูตรที่ ๔
๕. สิงคินิกขสูตร
... ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากำหนดรู้ใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้บุคคลบางคนใน โลกนี้อย่างนี้ว่า แม้เพราะแท่งแห่งทองสิงคิเป็นเหตุ ... ฯ
จบสูตรที่ ๕
๖. สิงคินิกขสตสูตร
... ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากำหนดรู้ใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้บุคคลบางคนใน โลกนี้อย่างนี้ว่า แม้เพราะร้อยแท่งแห่งทองสิงคิเป็นเหตุ ... ฯ
จบสูตรที่ ๖
๗. ปฐวีสูตร
... ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากำหนดรู้ใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้บุคคลบางคนใน โลกนี้อย่างนี้ว่า แม้เพราะแผ่นดินที่เต็มด้วยทองเป็นเหตุ ... ฯ
จบสูตรที่ ๗
๘. อามิสกิญจิกขสูตร
... ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากำหนดรู้ใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้บุคคลบางคนใน โลกนี้อย่างนี้ว่า แม้เพราะเห็นแก่ของกำนัลเพียงเล็กน้อยเป็นเหตุ ... ฯ
จบสูตรที่ ๘
๙. ชีวิตสูตร
... ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากำหนดรู้ใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้บุคคลบางคนใน โลกนี้อย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุแห่งชีวิตเป็นเหตุ ... ฯ
จบสูตรที่ ๙
๑๐. ชนปทกัลยาณีสูตร
... ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากำหนดรู้ใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้บุคคลบางคนใน โลกนี้อย่างนี้ว่า แม้เพราะนางงามประจำชนบทเป็นเหตุ ท่านผู้นี้ก็ไม่จงใจพูดมุสา แต่สมัยต่อมา เราเห็นเขาถูกลาภ สักการะและชื่อเสียงครอบงำย่ำยีจิตแล้ว ก็ กล่าวมุสาทั้งที่รู้ได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ลาภ สักการะและชื่อเสียง ทารุณ ฯลฯ อย่างนี้แล เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้แหละ ฯ
จบสูตรที่ ๑๐
จบทุติยวรรคที่ ๒
-----------------------------------------------------
รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ
๑. สุวัณณปาติสูตร ๒. รูปิยปาติสูตร ๓. สุวัณณนิกขสูตร ๔. สุวัณณนิกขสตสูตร ๕. สิงคินิกขสูตร ๖. สังคินิกขสต สูตร ๗. ปฐวีสูตร ๘. อามิสกิญจิกขสูตร ๙. ชีวิตสูตร ๑๐. ชนปทกัลยาณีสูตร ฯ
-----------------------------------------------------


             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖ บรรทัดที่ ๖๐๘๘-๖๑๓๐ หน้าที่ ๒๕๗-๒๕๙. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=16&A=6088&Z=6130&pagebreak=0 http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=16&item=564&items=1              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=16&item=564&items=1&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=16&item=564&items=1              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีอักษรโรมัน :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_item_s.php?book=16&item=564&items=1              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=16&i=564              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖ http://84000.org/tipitaka/read/?index_16

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :