ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
 ฉบับหลวง   บาลีอักษรไทย    PaliRoman 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
             [๕๐๕] กุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรม โดยอนันตรปัจจัย
             คือ กุศลขันธ์ที่เกิดขึ้นก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่กุศลขันธ์ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย
             อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู
             อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน
             โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค
             โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอนันตรปัจจัย
             [๕๐๖] กุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากตธรรม โดยอนันตรปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๓๔.

คือ กุศลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ๑- มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลมญาณของพระเสขะ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนกุศล ของพระอริยบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล สมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย [๕๐๗] อกุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ กุศลขันธ์ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่กุศลขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลังๆ โดยอนันตร- *ปัจจัย [๕๐๘] อกุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากตธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ อกุศล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ [๕๐๙] อัพยากตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากตธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัพยากตกิริยา และอัพยากตวิบากที่เกิดหลังๆ ภวังคจิต เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ อนุโลมญาณของพระอรหันต์ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา ของพระอรหันต์ผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล สมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย [๕๑๐] อัพยากตธรรม เป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่กุศลขันธ์ทั้งหลาย โดยอนันตรปัจจัย [๕๑๑] อัพยากตธรรม เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่กุศลขันธ์ทั้งหลาย โดยอนันตรปัจจัย

             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ บรรทัดที่ ๕๙๖๒-๕๙๙๐ หน้าที่ ๒๓๓-๒๓๔. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=5962&Z=5990&pagebreak=1 http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=40&item=505&items=7&pagebreak=1              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=40&item=505&items=7&pagebreak=1&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=40&item=505&items=7&pagebreak=1              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีอักษรโรมัน :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_item_s.php?book=40&item=505&items=7&pagebreak=1              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=505              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_40

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :