ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
 ฉบับหลวง   บาลีอักษรไทย    PaliRoman 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
             [๕๖] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๒- ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกุศลขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น
             กุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอกุศลขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น
             อกุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
@๑. อุทเทสแห่งปฏิจจวาร  ๒. คำว่าขันธ์ทั้งหมด หมายถึง นามขันธ์
             อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากต-
*กิริยา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก
เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น หทยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูต-
*รูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายเกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกุศลขันธ์ และมหาภูตรูป เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรม และอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ-
*ปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกุศลขันธ์และมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
             [๕๗] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรมเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑
อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นอัพยากตวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น
             [๕๘] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกุศลขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น
             กุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอกุศลขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น
             อกุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากต-
*กิริยา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป
๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัย
มหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติ-
*ปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกุศลขันธ์ทั้งหลาย และมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติ-
*ปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอกุศลขันธ์ทั้งหลาย และมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
             [๕๙] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย เพราะ
สมนันตรปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ
             ทั้งอนันตรปัจจัย ทั้งสมนันตรปัจจัย เหมือนกับอารัมมณปัจจัย
             [๖๐] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกุศลขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น
             กุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลขันธ์ เกิดขึ้น ขันธ์ ๑
และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น
             อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกุศลขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น
             อกุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ และจิตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและอัพยากต-
*กิริยา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่อัพยากตวิบาก
เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลายเกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูต-
*รูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
มหาภูตรูป ๓ อาศัยพาหิรมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูต-
*รูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ซึ่งมีอาหารเป็นสมุฏฐาน เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น
มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น มหาภูตรูป
๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ซึ่งมีอุตุเป็นสมุฏฐาน เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น
มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
             สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัย
อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป
อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาต-
*ปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกุศลขันธ์ทั้งหลาย และมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาต
ปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอกุศลขันธ์ทั้งหลาย และมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
             [๖๑] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑
อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย
หทยวัตถุ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓
เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐาน-
*รูป ฯลฯ
             สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑
อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น
             [๖๒] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะนิสสยปัจจัย
             คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ
             นิสสยปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย
             [๖๓] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอุปนิสสยปัจจัย
             คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ
             อุปนิสสยปัจจัย เหมือนกับอารัมมณปัจจัย
             [๖๔] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย ๑-
             อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย
@๑. ดูข้อ ๖๐ ตอนที่ ๕
             อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑
อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น
เพราะปุเรชาตปัจจัย
             [๖๕] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตกิริยา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓
เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
             [๖๖] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ฯลฯ มี ๓ นัย
             อาศัยอกุศลธรรม ฯลฯ มี ๓ นัย
             อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา เกิดขึ้น ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็น
อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
             สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น กฏัตตารูป ที่เป็น
อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกุศลขันธ์ทั้งหลาย และมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอกุศลขันธ์ทั้งหลาย และมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
@๑. คำว่า นัย หมายถึงหัวข้อปัจจัยนั้นเอง
             [๖๗] อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๑
และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และ
กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทยวัตถุ
อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑
เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
             [๖๘] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ มี ๓ นัย
             อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ มี ๓ นัย
             อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย
             คือ อัพยากตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา เกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็น
อุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ซึ่งมีอาหารเป็น
สมุฏฐาน เกิดขึ้น อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
             อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
             อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอกุศลขันธ์ทั้งหลาย และมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
             [๖๙] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอินทริยปัจจัย
             คือ อาศัยกุศลขันธ์ ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มี ๓ นัย
             อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ มี ๓ นัย
             อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
             สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น
             อินทริยปัจจัย เหมือนกับกัมมปัจจัย
             [๗๐] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะฌานปัจจัย ฯลฯ เพราะ
มัคคปัจจัย
             ฌานปัจจัยก็ดี มัคคปัจจัยก็ดี เหมือนกับเหตุปัจจัย
             [๗๑] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะสัมปยุตตปัจจัย
             คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ
             สัมปยุตตปัจจัย เหมือนกับอารัมมณปัจจัย
             [๗๒] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
             อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
             กุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
             อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
             อัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอกุศลขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์
ทั้งหลายเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
             อกุศลธรรม และอัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต-
*ปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์
ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
             อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากต-
*กิริยา ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา
ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย
ขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
กฏัตตรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย หทยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓
เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย
มหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
             อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรม และอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต
ปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกุศลขันธ์ทั้งหลายและมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น จิตต-
*สมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
             อัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต
ปัจจัย
             คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอกุศลขันธ์ทั้งหลาย และมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
             [๗๓] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอัตถิปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลขันธ์ เกิดขึ้น ฯลฯ
             อัตถิปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย
             [๗๔] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะนัตถิปัจจัย ฯลฯ เพราะวิคตปัจจัย
             นัตถิปัจจัยก็ดี วิคตปัจจัยก็ดี เหมือนกับอารัมมณปัจจัย
             [๗๕] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอวิคตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลขันธ์ เกิดขึ้น
อวิคตปัจจัยเหมือนกับสหชาตปัจจัย
ปัจจัยทั้ง ๒๓ เหล่านี้ ผู้สาธยาย พึงจำแนกให้พิสดาร
[๗๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๙ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๙ ในมัคคปัจจัย มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๓ ในวิคตปัจจัย มีวาระ ๓ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙ [๗๗] ในอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ [๗๘] ในอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๓ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในสนนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๗๙] ในกัมมปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย อธิปติปัจจัย อนันตรปัจจัย สมนันตรปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย อาเสวนปัจจัย มีวาระ ๓ ในอาหารปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย อธิปติปัจจัย อนันตรปัจจัย สมนันตร- *ปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย อาเสวนปัจจัย มีวาระ ๓ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๘๐] ในอวิคตปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ อาเสวนปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย อินทริยปัจจัย ฌานปัจจัย มัคคปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย วิปปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย มีวาระ ๓ [๘๑] ในอาหารปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย กับกัมมปัจจัย วิปากปัจจัย มีวาระ ๑ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ [๘๒] ในอวิคตปัจจัย กับเหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย กัมมปัจจัย วิปากปัจจัย อาหารปัจจัย อินทริยปัจจัย ฌานปัจจัย มัคคปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย วิปปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย มีวาระ ๑
การนับจำนวนเหตุมูลกปัจจัย จบ.
ในปัจจัยทั้งปวง กับปัจจัยที่ตั้งอยู่ในอารัมมณปัจจัย มีวาระ ๓ เท่านั้น [๘๓] ในเหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มีวาระ ๓ ในอธิปติปัจจัย กับ " มี " ๓ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ " มี " ๓ ในเหตุปัจจัย กับอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอารัมมณปัจจัย กับ " มี " ๓ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ " มี " ๙ ในเหตุปัจจัย กับอนันตรปัจจัยกับสมนันตรปัจจัย มีวาระ ๓ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ " มี " ๓ ในเหตุปัจจัย กับสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในเหตุปัจจัย กับอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในเหตุปัจจัย กับนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในเหตุปัจจัย กับอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในเหตุปัจจัย กับปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ [๘๔] ในเหตุปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มีวาระ ๓ ในอารัมมณปัจจัย กับ " มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย กับ " มี " ๓ ในอนันตรปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย กับ " มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย กับ " มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ " มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ " มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ " มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย กับ " มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ " มี " ๓ ในอาหารปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มีวาระ ๓ ในอินทริยปัจจัย กับ " มี " ๓ ในฌานปัจจัย กับ " มี " ๓ ในมัคคปัจจัย กับ " มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ " มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ " มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ " มี " ๓ ในนัตถิปัจจัย กับ " มี " ๓ ในวิคตปัจจัย กับ " มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ " มี " ๓ ในปัจจัยที่มีอาเสวนปัจจัยเป็นมูล ไม่มีวิปากปัจจัย ในเหตุปัจจัย กับกัมมปัจจัย มีวาระ ๙ [๘๕] ในเหตุปัจจัย กับวิปากปัจจัย มีวาระ ๑ ในอารัมมณปัจจัย กับ " มี " ๑ ในอธิปติปัจจัย กับ " มี " ๑ ในอนันตรปัจจัย กับ " มี " ๑ ในสมนันตรปัจจัย กับ " มี " ๑ ในสหชาตปัจจัย กับ " มี " ๑ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ " มี " ๑ ในนิสสยปัจจัย กับ " มี " ๑ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ " มี " ๑ ในปุเรชาตปัจจัย กับ " มี " ๑ ในกัมมปัจจัย กับ " มี " ๑ ในอาหารปัจจัย กับ " มี " ๑ ในอินทริยปัจจัย กับ " มี " ๑ ในฌานปัจจัย กับ " มี " ๑ ในมัคคปัจจัย กับ " มี " ๑ ในสัมปยุตตปัจจัย กับวิปากปัจจัย มีวาระ ๑ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ " มี " ๑ ในอัตถิปัจจัย กับ " มี " ๑ ในนัตถิปัจจัย กับ " มี " ๑ ในวิคตปัจจัย กับ " มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย กับ " มี " ๑ ในปัจจัยที่มีวิปากปัจจัย เป็นมูล ไม่มีอาเสวนปัจจัย ในเหตุปัจจัย กับอาหารปัจจัย มีวาระ ๙ ในเหตุปัจจัย กับอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในเหตุปัจจัย กับฌานปัจจัย มี " ๙ ในเหตุปัจจัย กับมัคคปัจจัย มี " ๙ ในเหตุปัจจัย กับสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในเหตุปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในเหตุปัจจัย กับอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในเหตุปัจจัย กับนัตถิปัจจัย มี " ๓ ในเหตุปัจจัย กับวิคตปัจจัย มี " ๓ [๘๖] ในเหตุปัจจัย กับอวิคตปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย กับ " มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย กับ " มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย กับ " มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ " มี " ๓ พึงกระทำปัจจัยหนึ่งๆ ให้เป็นหลัก แล้วนับโดยนัยแห่งการสาธยายฉะนี้แล
อนุโลม จบ


             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ บรรทัดที่ ๕๐๒-๙๒๙ หน้าที่ ๒๑-๓๗. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=502&Z=929&pagebreak=0 http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=40&item=56&items=31              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=40&item=56&items=31&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=40&item=56&items=31              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีอักษรโรมัน :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_item_s.php?book=40&item=56&items=31              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=56              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_40

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :