ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
 ฉบับหลวง   บาลีอักษรไทย    PaliRoman 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๐ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
             [๓๔๐] อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ
             ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทาทินนธรรม
ขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๑๙.

อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม. อนุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย. [๓๔๑] อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ. [๓๔๒] อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ฯลฯ
[๓๔๓] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๒ ในอธิปติปัจจัย มี " ๑ ในอนันตรปัจจัย มี " ๒ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๒ ในสหชาตปัจจัย มี " ๕ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๒

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๒๐.

ในนิสสยปัจจัย มีวาระ ๕ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๒ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๒ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๑ ในกัมมปัจจัย มี " ๕ ในวิปากปัจจัย มี " ๕ ในอาหารปัจจัย มี " ๕ ในอินทริยปัจจัย มี " ๕ ในฌานปัจจัย มี " ๕ ในมัคคปัจจัย มี " ๕ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๒ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๕ ในนัตถิปัจจัย มี " ๒ ในวิคตปัจจัย มี " ๒ ในอวิคตปัจจัย มี " ๕. [๓๔๔] อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๒๑.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ. อุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ อุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ เหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และ มหาภูตรูปทั้งหลาย. [๓๔๕] อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ อุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๒๒.

อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม มหาภูตรูปทั้งหลาย. [๓๔๖] อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย. ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะสมนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะอัญญมัญญ- *ปัจจัย ไม่ใช่เพราะอุปนิสสยปัจจัย. [๓๔๗] อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ตลอดถึง อสัญญสัตว์. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏ- *ฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม มหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ อุตุสมุฏ- *ฐานรูป. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ ปุเรชาตปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย. ฯลฯ ไม่ใช่เพราะปัจฉาชาตปัจจัย ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย. [๓๔๘] อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. [๓๔๙] อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย คือ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย.

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๒๓.

อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอุตุสมุฏฐานรูป. [๓๕๐] อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอาหารปัจจัย คือ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอาหารปัจจัย คือ พาหิรรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ [๓๕๑] อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอินทริยปัจจัย คือ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอินทริยปัจจัย คือ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ [๓๕๒] อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย คือ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ [๓๕๓] อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะมัคคปัจจัย เหมือน กับที่ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย โมหะไม่มี. ฯลฯ ไม่ใช่เพราะสัมปยุตตปัจจัย. [๓๕๔] อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ฯลฯ ไม่ใช่เพราะนัตถิปัจจัย ไม่ใช่เพราะวิคตปัจจัย.

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๒๔.

[๓๕๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๔. [๓๕๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๒๕.

ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔. [๓๕๗] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๒๖.

ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๕ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕.
สหชาตวาร เหมือนกับปฏิจจวาร.
ปฏิจจวาร


             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ บรรทัดที่ ๕๕๘๙-๕๗๗๘ หน้าที่ ๒๑๘-๒๒๖. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=5589&Z=5778&pagebreak=1 http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=43&item=340&items=18&pagebreak=1&mode=bracket              อ่านโดยใช้เนื้อความเป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=43&item=340&items=18&pagebreak=1              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=43&item=340&items=18&pagebreak=1&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีอักษรโรมัน :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_item_s.php?book=43&item=340&items=18&pagebreak=1&mode=bracket              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=340              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_43

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :