ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
 ฉบับหลวง   บาลีอักษรไทย    PaliRoman 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๐ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
ปัจจยวาร
[๔๓๔] อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ- *ปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๗๘.

คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิด ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคต- *วิปปยุตตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และโลภะ อาศัย หทัยวัตถุ. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และโลภะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิด ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และมหาภูต- *รูปทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และโลภะ โลภะอาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และหทัย- *วัตถุ. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ขันธ์

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๗๙.

๓ และโลภะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ฯลฯ
ในอารัมมณปัจจัย พึงกระทำปัญจวิญญาณ. [๔๓๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙. [๔๓๖] อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญ- *สัตว์ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตต- *ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทัยวัตถุ.
ฯลฯ
[๔๓๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๘๐.

ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มีวาระ ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓
การนับทั้งสอง นอกจากนี้ก็ดี นิสสยวารก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.


             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ บรรทัดที่ ๗๑๑๗-๗๑๘๔ หน้าที่ ๒๗๗-๒๘๐. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=7117&Z=7184&pagebreak=1 http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=43&item=434&items=4&pagebreak=1              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=43&item=434&items=4&pagebreak=1&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=43&item=434&items=4&pagebreak=1              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีอักษรโรมัน :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_item_s.php?book=43&item=434&items=4&pagebreak=1              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=434              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_43

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :