ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
 ฉบับหลวง   บาลีอักษรไทย    PaliRoman 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๑ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
อุปาทินนัตติกเหตุทุกะ
[๘๐] เหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็น อุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุ ปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย [๘๑] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๒ ในวิปากปัจจัย มี " ๒ [๘๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓
สหชาตวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี พึงให้พิสดาร
[๘๓] เหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยเหตุปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยเหตุปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็น อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยเหตุปัจจัย [๘๔] เหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอารัมมณปัจจัย [๘๕] เหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอธิปติปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอธิปติปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยอธิปติปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอธิปติปัจจัย [๘๖] เหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอนันตรปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอนันตรปัจจัย มี ๓ นัย เหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยอนันตรปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๘๗] เหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ นัย เหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ นัย ฯลฯ [๘๘] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๕ ในอธิปติปัจจัย มี " ๔ ในอนันตรปัจจัย มี " ๖ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๖ ในสหชาตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒ ในวิปากปัจจัย มี " ๒ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓ [๘๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙ [๙๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อ ปัจจัย ๓ [๙๑] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อ ปัจจัย ๕ แม้ปัญหาวารในกุสลัตติกะฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น [๙๒] นเหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น อุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น อุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และนเหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น อุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และนเหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และนเหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และนเหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย [๙๓] นเหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น อุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย [๙๔] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๕ ในอนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙ [๙๕] นเหตุธรรมที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น อุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย [๙๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๖ [๙๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๖ [๙๘] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒ แม้ในปัญหาวาร ในกุสลัตติกะฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น
อุปาทินนัตติกเหตุทุกะ จบ


             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ บรรทัดที่ ๑๐๕๖๖-๑๐๖๙๓ หน้าที่ ๔๔๒-๔๔๗. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=44&A=10566&Z=10693&pagebreak=0 http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=44&item=1991&items=19              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=44&item=1991&items=19&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=44&item=1991&items=19              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีอักษรโรมัน :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_item_s.php?book=44&item=1991&items=19              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=44&i=1991              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ http://84000.org/tipitaka/read/?index_44

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :