ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
 ฉบับหลวง   บาลีอักษรไทย    PaliRoman 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๑ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
ปริตตารัมมณัตติกเหตุทุกะ
[๒๙๐] เหตุธรรมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นปริตตา- *รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม อาศัยเหตุธรรม ที่เป็นมหัคคตา- *รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณา- *รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ [๒๙๑] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในวิคตปัจจัย มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓ [๒๙๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓
สหชาตวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาร
[๒๙๓] เหตุธรรมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม โดยเหตุปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น มหัคคตารัมมณธรรม โดยเหตุปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น อัปปมาณารัมมณธรรม โดยเหตุปัจจัย [๒๙๔] เหตุธรรมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น ปริตตารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตา- *รัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นมหัคค ตารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นปริตตา- *รัมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น อัปปมาณารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น ปริตตารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย [๒๙๕] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๗ ในอธิปติปัจจัย มี " ๗ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓ [๒๙๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙ [๒๙๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ [๒๙๘] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๗
แม้ปัญหาวารในกุสลัตติกะฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น
[๒๙๙] นเหตุธรรมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น ปริตตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย [๓๐๐] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓ [๓๐๑] นเหตุธรรมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น ปริตตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย [๓๐๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ [๓๐๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ [๓๐๔] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ สหชาตวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาร [๓๐๕] นเหตุธรรมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็น มหัคคตารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็น มหัคคตารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็น ปริตตารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็น อัปปมาณารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็น ปริตตารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย [๓๐๖] นเหตุธรรมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม โดยอธิปติปัจจัย [๓๐๗] ในอารัมมณปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๗ ในอธิปติปัจจัย มี " ๗ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓ [๓๐๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙ [๓๐๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๗ [๓๑๐] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อ ปัจจัย ๗
แม้ปัญหาวารในกุสลัตติกะฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น
ปริตตารัมมณัตติกเหตุทุกะ จบ


             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ บรรทัดที่ ๑๑๙๐๕-๑๑๙๙๓ หน้าที่ ๔๙๗-๕๐๐. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=44&A=11905&Z=11993&pagebreak=0 http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=44&item=2201&items=21              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=44&item=2201&items=21&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=44&item=2201&items=21              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีอักษรโรมัน :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_item_s.php?book=44&item=2201&items=21              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=44&i=2201              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ http://84000.org/tipitaka/read/?index_44

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :