ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๖ พระวินัยปิฎกเล่มที่ ๖ [ฉบับมหาจุฬาฯ] จุลวรรค ภาค ๑
มานัตตจาริกมูลายปฏิกัสสนา
ว่าด้วยการชักภิกษุผู้ประพฤติมานัตเข้าหาอาบัติเดิม
[๑๑๖] ท่านพระอุทายีนั้นกำลังประพฤติมานัต ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกา สุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ บอกแก่ภิกษุทั้งหลายว่า “ท่านทั้งหลาย กระผม ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดไว้ ๕ วัน กระผมนั้นขอปริวาส ๕ วัน เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดไว้ ๕ วันกับสงฆ์ สงฆ์ได้ให้ปริวาส ๕ วัน เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดไว้ ๕ วันแก่กระผมแล้ว กระผมนั้นกำลังอยู่ปริวาสต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ กระผมนั้นจึงขอการชักเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกา- สุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ สงฆ์ชักกระผมนั้นเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ กระผมนั้นอยู่ปริวาสแล้ว เป็นผู้ควรแก่มานัต ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ กระผมนั้นจึงขอการชักเข้าหาอาบัติเดิมเพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ สงฆ์ชักกระผมนั้นเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ กระผมนั้นอยู่ปริวาสแล้วขอ มานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๓ ตัวกับสงฆ์ สงฆ์ได้ให้มานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๓ ตัวแก่กระผม กระผมนั้นกำลัประพฤติมานัต ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกา- สุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ กระผมจะปฏิบัติอย่างไร” ภิกษุทั้งหลายจึงนำเรื่องนี้ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบ พระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุทั้งหลาย ถ้าเช่นนั้น สงฆ์จงชักภิกษุอุทายี เข้าหาอาบัติเดิมเพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ แล้วให้มานัต ๖ ราตรี” {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า : ๒๑๓}

พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๓. สมุจจยขันธกะ]

๑. สุกกวิสัฏฐิ

วิธีชักเข้าหาอาบัติเดิม และกรรมวาจา
ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงชักเข้าหาอาบัติเดิมอย่างนี้ คือ ภิกษุอุทายีนั้นพึงเข้าไป หาสงฆ์ ห่มอุตตราสงค์เฉวียงบ่าข้างหนึ่ง กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษาทั้งหลาย นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า “ท่านผู้เจริญ กระผมต้องอาบัติ ๑ ตัว ชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดไว้ ๕ วัน กระผมนั้นขอปริวาส ๕ วัน เพื่อ อาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดไว้ ๕ วันกับสงฆ์ สงฆ์ได้ให้ปริวาส ๕ วัน เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดไว้ ๕ วันแก่กระผมแล้ว กระผมนั้นกำลังอยู่ปริวาส ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ กระผมนั้นจึงขอการชักเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกา- สุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ สงฆ์ชักกระผมนั้นเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ กระผมนั้นอยู่ ปริวาสแล้ว เป็นผู้ควรแก่มานัต ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ใน ระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ กระผมนั้นจึงขอการชักเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัว ชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ สงฆ์ชักกระผมนั้นเข้าหา อาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ กระผมนั้นอยู่ปริวาสแล้ว ขอมานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๓ ตัวกับสงฆ์ สงฆ์ได้ให้ มานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๓ ตัวแก่กระผม กระผมนั้นกำลังประพฤติมานัตต้อง อาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ท่านผู้เจริญ กระผม นั้นขอการชักเข้าหาอาบัติเดิมเพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์” พึงขอแม้ครั้งที่ ๒ ฯลฯ พึงขอแม้ครั้งที่ ๓ ฯลฯ ภิกษุผู้ฉลาดสามารถพึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจาว่า [๑๑๗] “ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุอุทายีนี้ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อ สัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดไว้ ๕ วัน ภิกษุอุทายีนั้นขอปริวาส ๕ วัน เพื่ออาบัติ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า : ๒๑๔}

พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๓. สมุจจยขันธกะ]

๑. สุกกวิสัฏฐิ

๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดไว้ ๕ วันกับสงฆ์ สงฆ์ได้ให้ปริวาส ๕ วัน เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดไว้ ๕ วันแก่ภิกษุอุทายีแล้ว ภิกษุ อุทายีนั้นกำลังอยู่ปริวาส ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ภิกษุอุทายีนั้นจึงขอการชักเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกา- สุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ สงฆ์ชักภิกษุอุทายีเข้าหาอาบัติเดิม เพื่อ อาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ภิกษุอุทายีนั้นอยู่ ปริวาสแล้ว เป็นผู้ควรแก่มานัต ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ใน ระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ภิกษุอุทายีนั้นขอการชักเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัว ชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ สงฆ์ได้ชักภิกษุอุทายีเข้า หาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ภิกษุอุทายีนั้นอยู่ปริวาสแล้ว ขอมานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๓ ตัวกับสงฆ์ สงฆ์ ได้ให้มานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๓ ตัว แก่ภิกษุอุทายีแล้ว ภิกษุอุทายีนั้นกำลัง ประพฤติมานัต ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ภิกษุอุทายีนั้นจึงขอการชักเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ ถ้าสงฆ์พร้อมกันแล้วพึงชักภิกษุอุทายีเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ นี่เป็นญัตติ ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุอุทายีนี้ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อ สัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดไว้ ๕ วัน ภิกษุอุทายีนั้นขอปริวาส ๕ วัน เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดไว้ ๕ วันกับสงฆ์ สงฆ์ได้ให้ปริวาส ๕ วัน เพื่อ อาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดไว้ ๕ วัน แก่ภิกษุอุทายี ภิกษุอุทายี นั้น กำลังอยู่ปริวาส ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ภิกษุอุทายีนั้นขอการชักเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตินกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ สงฆ์ได้ชักภิกษุอุทายีเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัว ชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ภิกษุอุทายีนั้นอยู่ปริวาสแล้ว เป็น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า : ๒๑๕}

พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๓. สมุจจยขันธกะ]

๑. สุกกวิสัฏฐิ

ผู้ควรแก่มานัต ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ภิกษุอุทายีนั้นขอการชักเข้าหาอาบัติ เดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ สงฆ์ชักภิกษุอุทายีเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ภิกษุอุทายีนั้นอยู่ปริวาสแล้ว ขอมานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๓ ตัวกับสงฆ์ สงฆ์ได้ให้มานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๓ ตัวแก่ภิกษุอุทายี แล้ว ภิกษุอุทายีนั้นกำลังประพฤติมานัต ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อ สัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ภิกษุอุทายีนั้นจึงขอการชักเข้าหา อาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ สงฆ์ชักภิกษุอุทายีเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ใน ระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการชักภิกษุอุทายีเข้าหาอาบัติเดิม เพื่อ อาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่าน รูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วง แม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ฯลฯ แม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ฯลฯ ภิกษุอุทายี สงฆ์ชักเข้าหาอาบัติเดิมแล้ว เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกา- สุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ สงฆ์เห็นด้วย เพราะฉะนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าขอถือ ความนิ่งนั้นเป็นมติอย่างนี้”
วิธีให้มานัตและกรรมวาจา
ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงให้มานัต ๖ ราตรีอย่างนี้ คือ ภิกษุอุทายีนั้นพึง เข้าไปหาสงฆ์ ห่มอุตตราสงค์เฉวียงบ่าข้างหนึ่ง กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษาทั้งหลาย นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า “ท่านผู้เจริญ กระผมต้องอาบัติ ๑ ตัว ชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดไว้ ๕ วัน ฯลฯ กระผมนั้นอยู่ปริวาสแล้ว ขอมานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๓ ตัวกับสงฆ์ สงฆ์ได้ให้มานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๓ ตัว แก่กระผมแล้ว กระผมนั้นกำลังประพฤติมานัต ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกา- {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า : ๒๑๖}

พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๓. สมุจจยขันธกะ]

๑. สุกกวิสัฏฐิ

สุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ กระผมนั้นจึงขอการชักเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ สงฆ์ชักกระผมนั้น เข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ท่านผู้เจริญ กระผมนั้นขอมานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ ” พึงขอแม้ครั้งที่ ๒ ฯลฯ พึงขอแม้ครั้งที่ ๓ ฯลฯ ภิกษุผู้ฉลาดสามารถพึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจาว่า “ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุอุทายีนี้ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อ สัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดไว้ ๕ วัน ฯลฯ ภิกษุอุทายีนั้นอยู่ปริวาสแล้วขอมานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๓ ตัวกับสงฆ์ สงฆ์ได้ให้มานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๓ ตัวแก่ ภิกษุอุทายีแล้ว ภิกษุอุทายีนั้นกำลังประพฤติมานัต ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกา- สุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ภิกษุอุทายีนั้นขอการชักเข้าหาอาบัติเดิม เพื่อ อาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ สงฆ์ชัก ภิกษุอุทายีเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัว ชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ภิกษุอุทายีนั้นขอมานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกา- สุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ ถ้าสงฆ์พร้อมกันแล้ว พึงให้มานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้แก่ภิกษุอุทายี นี่เป็นญัตติ ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุอุทายีนี้ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อ สัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดไว้ ๕ วัน ฯลฯ ภิกษุอุทายีนั้นอยู่ปริวาสแล้ว ขอมานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๓ ตัวกับสงฆ์ สงฆ์ได้ให้มานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๓ ตัว แก่ภิกษุอุทายีแล้ว ภิกษุอุทายีนั้นกำลังประพฤติมานัต ต้องอาบัติ ๑ ตัวชื่อ สัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ภิกษุอุทายีนั้นขอการชักเข้าหา อาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า : ๒๑๗}

พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๓. สมุจจยขันธกะ]

๑. สุกกวิสัฏฐิ

สงฆ์ชักภิกษุอุทายีเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ ภิกษุอุทายีนั้นขอมานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อ สัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้กับสงฆ์ สงฆ์ได้ให้มานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้แก่ภิกษุอุทายี ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการให้มานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกา- สุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ แก่ภิกษุอุทายี ท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูปใดไม่ เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วง แม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ฯลฯ แม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ฯลฯ มานัต ๖ ราตรี เพื่ออาบัติ ๑ ตัวชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ในระหว่าง ไม่ได้ปิดไว้ สงฆ์ให้แล้วแก่ภิกษุอุทายี สงฆ์เห็นด้วย เพราะฉะนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้า ขอถือเอาความนิ่งนั้นเป็นมติอย่างนี้”


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๖ หน้าที่ ๒๑๓-๒๑๘. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=6&siri=26              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=6&A=5055&Z=5239                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=6&i=404              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=6&item=404&items=8              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=6&item=404&items=8                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๖ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu6              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/pli-tv-kd13/en/brahmali#pli-tv-kd13:10.1.0 https://suttacentral.net/pli-tv-kd13/en/horner-brahmali#Kd.13.11



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :