ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๗ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๔ [ฉบับมหาจุฬาฯ] กถาวัตถุปกรณ์

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๕. ปัญจมวรรค]

๑. วิมุตติกถา (๔๓)

๕. ปัญจมวรรค
๑. วิมุตติกถา (๔๓)
ว่าด้วยความหลุดพ้น
[๔๑๘] สก. วิมุตติญาณ๑- ชื่อว่าหลุดพ้นแล้วใช่ไหม ปร.๒- ใช่๓- สก. วิมุตติญาณทั้งหมดนั้น ชื่อว่าหลุดพ้นแล้วใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. วิมุตติญาณ ชื่อว่าหลุดพ้นแล้วใช่ไหม ปร. ใช่ สก. ปัจจเวกขณญาณ ชื่อว่าหลุดพ้นแล้วใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. วิมุตติญาณ ชื่อว่าหลุดพ้นแล้วใช่ไหม ปร. ใช่ สก. วิมุตติญาณของโคตรภูบุคคล ชื่อว่าหลุดพ้นแล้วใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งโสดาปัตติผล ชื่อว่าหลุดพ้น แล้วใช่ไหม ปร. ใช่ @เชิงอรรถ : @ วิมุตติญาณ หมายถึงญาณ ๔ คือ (๑) วิปัสสนาญาณ (๒) มรรคญาณ (๓) ผลญาณ (๔) ปัจจเวกขณญาณ @(อภิ.ปญฺจ.อ. ๔๑๘/๒๐๘) @ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอันธกะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๔๑๘/๒๐๘) @ เพราะมีความเห็นรวมๆ ว่า วิมุตติญาณทั้ง ๔ อย่าง หลุดพ้นแล้ว ซึ่งต่างกับความเห็นของฝ่ายสกวาที @ที่เห็นว่า ผลญาณเท่านั้นหลุดพ้นแล้ว (อภิ.ปญฺจ.อ. ๔๑๘/๒๐๘) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๔๔๙}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๕. ปัญจมวรรค]

๑. วิมุตติกถา (๔๓)

สก. ญาณของพระโสดาบัน เป็นญาณของผู้ถึง ได้ บรรลุ ทำให้แจ้ง โสดาปัตติผลใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งสกทาคามิผล ชื่อว่าหลุด พ้นแล้วใช่ไหม ปร. ใช่ สก. ญาณของพระสกทาคามี เป็นญาณของผู้ถึง ได้ บรรลุ ทำให้แจ้ง สกทาคามิผลใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งอนาคามิผล ชื่อว่าหลุดพ้น แล้วใช่ไหม ปร. ใช่ สก. ญาณของพระอนาคามี เป็นญาณของผู้ถึง ได้ บรรลุ ทำให้แจ้ง อนาคามิผลใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งอรหัตตผล ชื่อว่าหลุดพ้น แล้วใช่ไหม ปร. ใช่ สก. ญาณของพระอรหันต์ เป็นญาณของผู้ถึง ได้ บรรลุ ทำให้แจ้งอรหัตตผล ใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ [๔๑๙] สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยโสดาปัตติผล ชื่อว่าหลุด พ้นแล้วใช่ไหม ปร. ใช่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๔๕๐}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๕. ปัญจมวรรค]

๑. วิมุตติกถา (๔๓)

สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งโสดาปัตติผล ชื่อว่าหลุดพ้น แล้วใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยสกทาคามิผล ชื่อว่าหลุดพ้นแล้ว ใช่ไหม ปร. ใช่ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งสกทาคามิผล ชื่อว่าหลุดพ้น แล้วใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยอนาคามิผล ชื่อว่าหลุดพ้นแล้ว ใช่ไหม ปร. ใช่ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งอนาคามิผล ชื่อว่าหลุดพ้น แล้วใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยอรหัตตผล ชื่อว่าหลุดพ้นแล้ว ใช่ไหม ปร. ใช่ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งอรหัตตผล ชื่อว่าหลุดพ้น แล้วใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ [๔๒๐] สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยโสดาปัตติผล ชื่อว่าหลุดพ้น แล้วและวิมุตติญาณนั้นเป็นญาณของผู้ได้บรรลุผลใช่ไหม ปร. ใช่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๔๕๑}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๕. ปัญจมวรรค]

๑. วิมุตติกถา (๔๓)

สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งโสดาปัตติผล ชื่อว่าหลุดพ้น แล้ว และวิมุตติญาณนั้นเป็นญาณของผู้ได้บรรลุผลใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยสกทาคามิผล ชื่อว่าหลุดพ้นแล้ว และวิมุตติญาณนั้นเป็นญาณของผู้ได้บรรลุผลใช่ไหม ปร. ใช่ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งสกทาคามิผล ชื่อว่าหลุดพ้น แล้ว และวิมุตติญาณนั้นเป็นญาณของผู้ได้บรรลุผลใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยอนาคามิผล ชื่อว่าหลุดพ้นแล้ว และวิมุตติญาณนั้นเป็นญาณของผู้ได้บรรลุผลใช่ไหม ปร. ใช่ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งอนาคามิผล ชื่อว่าหลุดพ้น แล้ว และวิมุตติญาณนั้นเป็นญาณของผู้ได้บรรลุผลใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยอรหัตตผล ชื่อว่าหลุดพ้นแล้ว และวิมุตติญาณนั้นเป็นญาณของผู้ได้บรรลุผลใช่ไหม ปร. ใช่ สก. วิมุตติญาณของบุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งอรหัตตผล ชื่อว่าหลุดพ้น แล้ว และวิมุตติญาณนั้นเป็นญาณของผู้ได้บรรลุผลใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
วิมุตติกถา จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๔๕๒}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๓๗ หน้าที่ ๔๔๙-๔๕๒. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=37&siri=63              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=37&A=9845&Z=9935                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=37&i=1026              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=37&item=1026&items=4              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=4675              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=37&item=1026&items=4              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=4675                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๗ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu37              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/kv5.1/en/aung-rhysdavids



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :