ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย เหตุปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๑๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต- สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย เหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๑๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

อารัมมณปัจจัย
[๕๒] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระเสขะหรือปุถุชนเห็น แจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อ กุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ เห็นแจ้ง โสตะ .... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... กลิ่น... รส... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดย เป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความ ยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อกุศล และอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รูปายตนะที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ คันธายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... รสายตนะ ... โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กาย- วิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็น สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี เพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทาน กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเป็นสภาวะ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๑๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

เพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานด้วย ทิพพจักขุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และ อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒) [๕๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน พระอริยะพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้ง รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินรูปเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้ มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดย อารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๑๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้ง รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินรูปเป็นต้นนั้น ราคะ จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่ เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ อากาสานัญจายตนกุศลเป็นปัจจัยแก่ วิญญาณัญจายตนวิบากโดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนกุศลเป็นปัจจัยแก่ เนวสัญญานาสัญญายตนวิบากโดยอารัมมณปัจจัย รูปายตนะที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๒) [๕๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็น ปัจจัยแก่มรรคและผลโดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่ง พร้อมด้วยจิตที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติ- ญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๑๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

อธิปติปัจจัย
[๕๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดี เพลิดเพลินจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิดเพลินโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูปที่กรรมอันประกอบ ด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้น นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง ได้แก่ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถและ พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น พระเสขะพิจารณาโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาโวทาน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินรูปเป็นต้นนั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย อธิปติปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๒๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรคและผลโดยอธิปติปัจจัย สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คืออารัมมณาธิปติและ สหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณา นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและโวทานโดย อธิปติปัจจัย สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเป็นอธิปติ- ปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๒๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

อนันตรปัจจัย
[๕๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานซึ่งเกิด หลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ปัญจวิญญาณเป็นปัจจัยแก่มโนธาตุที่เป็นวิบากโดย อนันตรปัจจัย มโนธาตุที่เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากโดย อนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ภวังคจิตเป็นปัจจัยแก่ อาวัชชนจิต มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นกิริยา โดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานซึ่งเกิด หลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่วิญญาณ ๕ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๒๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญา- ยตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็นปัจจัย แก่ผลโดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตร- ปัจจัย (๒)
สมนันตรปัจจัย
[๕๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย)
สหชาตปัจจัย
[๕๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๒๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาต- ปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัย แก่มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ มหา- ภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยสหชาตปัจจัย สำหรับเหล่า อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย สหชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน- รูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตต- สมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๒๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ฯลฯ มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูป ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... มหาภูตรูป ๑ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่อุปาทายรูปโดยสหชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๒๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย (๒)
อัญญมัญญปัจจัย
[๕๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัญญมัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... มหาภูตรูป ๑ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๒๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

ถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
นิสสยปัจจัย
[๖๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย นิสสยปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สำหรับเหล่า อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยนิสสย- ปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยนิสสยปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดย นิสสยปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๒๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน- รูปโดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยนิสสยปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน มี ๑ วาระ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทาน ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นอารมณ์ของอุปาทาน และที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึด ถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๒๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยนิสสยปัจจัย (๑)
อุปนิสสยปัจจัย
[๖๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูป- นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ สุขทางกายเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายและทุกข์ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย ทุกข์ทางกายเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายและทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายและทุกข์ทางกาย ฯลฯ โภชนะเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย และทุกข์ทางกาย ฯลฯ สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะเป็นปัจจัย แก่สุขทางกายและทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกายแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อาศัยทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทาน ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๒๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกายแล้วทำมรรคให้เกิดขึ้น เข้าผลสมาบัติอาศัยทุกข์ทาง กาย ... อุตุ ... โภชนะแล้วทำมรรคให้เกิดขึ้น เข้าผลสมาบัติ สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะเป็นปัจจัยแก่มรรคและผลสมาบัติโดยอุปนิสสย- ปัจจัย (๓) [๖๒] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทาน ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ...ความปรารถนา ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ ปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญา- นาสัญญายตนะ ฯลฯ ปาณาติบาตเป็นปัจจัยแก่ปาณาติปาต ฯลฯ นิยตมิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๓๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ทำตนให้เดือดร้อน ให้ร้อนรน เสวย ทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูล อาศัยศีลที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ฯลฯ เสนาสนะ จึงทำตนให้เดือดร้อน ให้ร้อนรน เสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูล ศรัทธาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายและ ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย กรรมที่เป็นกุศลและอกุศลเป็นปัจจัยแก่วิบากโดย อุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูป- นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรคโดยอุป- นิสสยปัจจัย บริกรรมทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค ฯลฯ บริกรรมจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) [๖๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย ทุติยมรรคเป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๓๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ผลสมาบัติเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูป- นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะอาศัยมรรคแล้วทำสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิด ขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว เห็นแจ้งสังขารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา มรรคของพระอริยะ เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ธัมมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา ปฏิภาณปฏิสัมภิทา และความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและมิใช่ฐานะ โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
ปุเรชาตปัจจัย
[๖๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณ- ปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี เพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศล ดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ พระเสขะหรือปุถุชน เห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๓๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ ปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิด ขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ คันธายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... รสายตนะ ... โผฏฐัพพายตนะเป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ และวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลิน จักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส จึงเกิดขึ้น เห็นรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานด้วยทิพพจักขุ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๓๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย (๓) [๖๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณ- ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะโดยเป็น สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี เพลิดเพลินรูปเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูป ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานด้วย ทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทาน ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินรูป เป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๓๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

และวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะและจักขายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยปุเรชาต- ปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและกายายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดย ปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ และวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๖๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๓๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๓๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๓) [๖๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉา- ชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๓๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

อาเสวนปัจจัย
[๖๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เกิดก่อนๆ ซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่เกิดหลังๆ ซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทานโดยอาเสวนปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค ฯลฯ โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๒)
กัมมปัจจัย
[๖๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย กัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย เจตนาเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๓๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต- สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒) [๗๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นกุศลซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งกรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยกัมม- ปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๓๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัย
[๗๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งกรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย วิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยวิปากปัจจัย ใน ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปโดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปโดยวิปากปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่ หทัยวัตถุโดยวิปากปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปากปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วิปากะ ได้แก่ ขันธ์ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๔๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยวิปากปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วิปากะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปากปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วิปากะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยวิปากปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปากปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วิปากะ ได้แก่ ขันธ์ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารม์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปากปัจจัย มีอย่างเดียวคือ วิปากะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๔๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

อาหารปัจจัย
[๗๒] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดย อาหารปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน รูปโดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๔๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๗๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กาย ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดย อาหารปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กาย ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดย อาหารปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์โดยอาหารปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๔๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอาหารปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย (๓) [๗๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๔๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอาหารปัจจัย (๓)
อินทรียปัจจัย
[๗๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย อินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยอินทรีย- ปัจจัย จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน รูปโดยอินทรียปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๔๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

อารมณ์ของอุปาทานโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์โดยอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๔๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

ฌานปัจจัย
[๗๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ องค์ฌานที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดย ฌานปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยฌานปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา ทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต- สมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย (๑) [๗๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๔๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

ทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์โดยฌานปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- รูปโดยฌานปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย (๓)
มัคคปัจจัย
[๗๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยมัคคปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยมัคคปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๔๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐาน- รูปโดยมัคคปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยมัคคปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยมัคคปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยมัคคปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยมัคคปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๔๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สัมปยุตตปัจจัย
[๗๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย สัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย สัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
วิปปยุตตปัจจัย
[๘๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตต- ปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๕๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน โดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๕๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๔) [๘๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๕๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นอารมณ์ ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๕๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

อัตถิปัจจัย
[๘๒] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปโดย อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย สำหรับ เหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็น ทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่ เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทาน ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาท ที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ คันธายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... รสายตนะ ... โผฏฐัพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๕๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ กายที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดย อัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูปที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะและหทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานด้วยทิพพจักขุ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่กายที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๕๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กาย ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดย อัตถิปัจจัย (๔) [๘๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๕๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็น อุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... เสียง ... กลิ่น ... รส... โผฏฐัพพะโดยเป็น สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี เพลิดเพลินรูปเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นรูปที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่กายที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะโดย เป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความ ยินดีเพลิดเพลินรูปเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๕๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

กุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รูปายตนะ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอัตถิ- ปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่กายที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะและอาหาระ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (๓) [๘๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๕๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ ปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และกายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๒ และกายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๕๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และกายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ และกายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (๕) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (๖) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๖๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และกายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ และกายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (๗) [๘๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะและอินทรียะ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๖๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะและอาหาระ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและกวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและกวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะและอาหาระ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและกวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๖๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

ไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (๓) [๘๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะและจักขายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและกายายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย รูปายตนะที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทาน ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานและกวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายที่กรรม อันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๖๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทาน ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานและกวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กาย ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดย อัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๖๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

อาหาระ ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน และที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดย อัตถิปัจจัย (๑)
นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย และอวิคตปัจจัย
[๘๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอวิคตปัจจัย (ย่อ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๘๘] เหตุปัจจัย มี ๗ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๖๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย มี ๘ วาระ วิปากปัจจัย มี ๖ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑๒ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๒๓ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๒๓ วาระ
สภาคนัย
อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๖ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๖๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

อินทรียปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ (ย่อ) (พึงนับเหมือนกุสลติกะตามแนวการสาธยายการนับในอุปาทินนติกะซึ่งลึกซึ้ง และ ละเอียดกว่าวิธีนับกุสลติกะ ผู้รู้พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๘๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และอาหารปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และอาหารปัจจัย (๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๖๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และอาหารปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาต- ปัจจัย กัมมปัจจัย และอาหารปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัยและอาหารปัจจัย (๔) [๙๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัยและปัจฉาชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๖๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทาน มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (๔) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (๕) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๖) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทาน ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทาน มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (๗) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทาน มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะและอินทรียะ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๖๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทาน มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะและอาหาระ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะและอาหาระ (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ ของอุปาทาน มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะและอาหาระ (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทาน มี ๔ อย่าง คือ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทาน มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทาน มีอย่างเดียว คือ อาหาระ (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๗๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน และที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทาน มี ๓ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๙๑] นเหตุปัจจัย มี ๒๔ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๒๔ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๒๔ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๒๔ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๒๔ วาระ นสหชาตปัจจัย มี ๒๐ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๐ วาระ นนิสสยปัจจัย มี ๒๐ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๒๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๒๔ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๒๔ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๒๔ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๒๐ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๒๒ วาระ นฌานปัจจัย มี ๒๔ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๗๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

นมัคคปัจจัย มี ๒๔ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๐ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๔ วาระ โนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๒๔ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๒๔ วาระ โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
ทุกนัย
[๙๒] นอารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒๔ วาระ (ย่อ)
(พึงขยายให้พิสดารเหมือนการนับปัจจนียะในกุสลติกะ)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๙๓] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๔ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๗๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

นกัมมปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๔ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
เหตุฆฏนา
[๙๔] นอารัมมณปัจจัย กับปัจจัย ๕ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิและอวิคตะ มี ๗ วาระ นอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ นอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ ฯลฯ นอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๔ วาระ ฯลฯ นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๔ วาระ ฯลฯ นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๔ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ (ย่อ) (พึงนับเหมือนอนุโลมปัจจนียะในกุสลติกะที่จำแนกไว้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๗๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๙๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๘ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๖ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๒๓ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๒๓ วาระ (ย่อ) (พึงนับเหมือนปัจจนียานุโลมในกุสลติกะที่จำแนกไว้)
อุปาทินนติกะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๗๔}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๘๑๕-๘๗๔. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=177              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7], [8], [9], [10], [11], [12], [13], [14], [15], [16], [17], [18], [19], [20], [21].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=18823&Z=19943                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1476              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=1476&items=184              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=1476&items=184                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :