ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๓] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอุปนิสสย- ปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง แต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยสหชาตปัจจัย (๔) [๓๔] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๙๐๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอุปนิสสยปัจจัยและ ปุเรชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยสหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ ทำให้เศร้าหมองไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยสหชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ ทำให้เศร้าหมองไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลส มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำ ให้เศร้าหมองไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง และไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ (๒) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง และเป็นอารมณ์ของกิเลส มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๑) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง แต่เป็นอารมณ์ของกิเลส มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทรียะ (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๙๐๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัจจนียะ - สุทธนัย
[๓๕] นเหตุปัจจัย มี ๑๔ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๑๔ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๑๔ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ นสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ นนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๔ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๑๔ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๑๔ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๑๔ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑๔ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑๔ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑๔ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑๔ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๘ วาระ โนอัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๑๔ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๑๔ วาระ โนอวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๙๐๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร

ทุกนัย
นอารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑๔ วาระ (ย่อ) (พึงนับเหมือนการนับปัจจนียะในกุสลติกะ)
ปัจจนียะ จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๙๐๓-๙๐๖. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=180              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=20520&Z=20584                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1751              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=1751&items=15              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=1751&items=15                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :