ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๓๘] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๑๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็น อัพยากตกิริยา ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๓๓๙] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะ อารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย (ไม่มีอธิปติปัจจัยในปฏิสนธิขณะ) เพราะ อนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย (บททั้งหมดเหมือนเหตุมูลกนัย)
ปุเรชาตปัจจัย
[๓๔๐] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะปุเรชาต- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ขันธ์เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเพราะปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ขันธ์เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ ปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็น อัพยากตกิริยา ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ขันธ์ เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะปุเรชาตปัจจัย (๑)
อาเสวนปัจจัย
[๓๔๑] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศล ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๑๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตกิริยา ฯลฯ
กัมมปัจจัย
[๓๔๒] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะกัมม- ปัจจัย ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ
วิปากปัจจัย
[๓๔๓] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต เพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก ฯลฯ
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๓๔๔] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะอาหาร- ปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตต- ปัจจัย (บทเหล่านี้เหมือนกับเหตุปัจจัย)
วิปปยุตตปัจจัย
[๓๔๕] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะวิป- ปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ขันธ์เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะวิปปยุตตปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ฯลฯ ขันธ์ เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะวิปปยุตตปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ ขันธ์เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะวิปปยุตตปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๑๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๓๔๖] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะอัตถิ- ปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือน กับเหตุปัจจัย)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๓๔๗] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๑๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
เหตุทุกนัย
[๓๔๘] อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงขยายเหตุมูลกนัยให้ พิสดาร)
อาเสวนทุกนัย
[๓๔๙] เหตุปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย ” มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๑๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อัตถิปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปากทุกนัย
[๓๕๐] เหตุปัจจัย กับวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อารัมมณปัจจัย ” มี ๑ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อนุโลมในสังสัฏฐวาร จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๑๘}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๒๑๓-๒๑๘. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=37              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=4815&Z=4931                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=390              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=390&items=11              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=11198              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=390&items=11              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=11198                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :