ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙. สนิทัสสนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

๙. สนิทัสสนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้โดย เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุ ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดยเหตุ- ปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้ และที่เห็นไม่ได้โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๓๕] สภาวธรรมที่เห็นได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่เห็นได้โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เห็นได้เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณา กุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน พระอริยะออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลส ที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๒๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙. สนิทัสสนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

กาย ฯลฯ เสียง ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่เห็นไม่ได้โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่ง พร้อมด้วยจิตที่เห็นไม่ได้ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่ วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญา- ยตนะ ฯลฯ สัททายตนะเป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
อธิปติปัจจัย
[๓๖] สภาวธรรมที่เห็นได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินรูปที่เห็นได้ให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินรูปนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณา กุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออก จากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดย อธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่เห็นไม่ได้ให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๒๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙. สนิทัสสนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูปที่เห็นได้โดยอธิปติปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดยอธิปติ- ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย (๓)
อนันตรปัจจัย
[๓๗] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ซึ่งเกิดหลังๆ โดย อนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๘] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยสมนันตร- ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย
[๓๙] สภาวธรรมที่เห็นได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเมื่อปรารถนาวรรณสมบัติจึงให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ วรรณสมบัติเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันนตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๒๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙. สนิทัสสนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติ ให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ ... อาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดย อุปนิสสยปัจจัย (๑)
ปุเรชาตปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่เห็นได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่เห็นได้โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคล เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะ ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ สัททายตนะ เป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดย ปุเรชาตปัจจัย วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้โดย ปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดย ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้โดย ปุเรชาตปัจจัย รูปายตนะและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยปุเรชาต- ปัจจัย (๑)
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๔๑] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยปัจฉาชาต- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นไม่ ได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๒๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙. สนิทัสสนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นได้โดยปัจฉาชาต- ปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดย ปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อนซึ่งเห็นได้และเห็นไม่ได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย (๓)
อาเสวนปัจจัย
[๔๒] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอาเสวน- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ซึ่งเกิด หลังๆ ฯลฯ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็น ปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)
กัมมปัจจัย
[๔๓] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต- สมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ กฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้โดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ (พึงขยายให้พิสดาร) (๒) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดย กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ (พึงขยายให้พิสดาร) (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๒๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙. สนิทัสสนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๔๔] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มกวฬิงการาหารทั้ง ๓ วาระ) เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มรูปชีวิตินทรีย์ทั้ง ๓ วาระ) เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยวิปปยุตต- ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้โดย วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เห็นไม่ ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้โดย วิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นไม่ได้ โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้โดย วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นได้โดย วิปปยุตตปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๒๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙. สนิทัสสนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้และที่ เห็นไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นได้และ เห็นไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๔๖] สภาวธรรมที่เห็นได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่เห็นได้โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน- รูปที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (ย่อ พึงเพิ่มข้อความ จนถึงอสัญญสัตตพรหม) ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ สัททายตนะเป็นปัจจัยแก่ โสตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นไม่ได้ โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๓๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙. สนิทัสสนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้โดย อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นได้โดยอัตถิปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มี อาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตต- พรหม มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นได้โดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นได้โดย อัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เห็นได้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เห็นได้โดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดย อัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต- สมุฏฐานรูปที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น อุปาทายรูปซึ่งเห็นได้และเห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มี อาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นได้และเห็นไม่ได้ โดยอัตถิปัจจัย (๓) [๔๗] สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้ โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะและหทัยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย รูปายตนะและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๓๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙. สนิทัสสนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๔๘] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๓๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙. สนิทัสสนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

๒. ปัจจนียุทธาร
[๔๙] สภาวธรรมที่เห็นได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอารัมมณปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้โดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดย สหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดย ปุเรชาตปัจจัย (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๕๐] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ (ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๕ วาระ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๓๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙. สนิทัสสนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๕๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๕๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๓๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

สมนันตรปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
ปัจจนียานุโลม จบ สนิทัสสนทุกะ จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๒ หน้าที่ ๑๒๔-๑๓๕. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=42&siri=22              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=42&A=3483&Z=3824                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=202              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=42&item=202&items=18              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=42&item=202&items=18                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu42



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :