ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
             [๕๑๙] กุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรม โดยสหชาตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๑ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย
             [๕๒๐] กุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากตธรรม โดยสหชาตปัจจัย
             คือ กุศลขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย
             [๕๒๑] กุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมและอัพยากตธรรม โดยสหชาต-
*ปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาต-
*ปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย
             [๕๒๒] อกุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรม โดยสหชาตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย
             [๕๒๓] อกุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากตธรรม โดยสหชาตปัจจัย
             คือ อกุศลขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย
             [๕๒๔] อกุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรมและอัพยากตธรรม โดย-
*สหชาตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป โดย
สหชาตปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย
             [๕๒๕] อัพยากตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากตธรรม โดยสหชาตปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๓๗.

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ- *จิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูป โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ โดยสหชาตปัจจัย หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูปหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป โดยสหชาตปัจจัย พาหิรมหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดย สหชาตปัจจัย มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่อุปาทารูป โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอาหารสมุฏฐาน เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่ มหาภูตรูป ๒ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่อุปาทารูป โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอุตุสมุฏฐาน เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่- *มหาภูตรูป ๒ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่อุปาทารูป โดยสหชาตปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๓๘.

สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่ มหาภูตรูป ๒ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูปทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป สหชาตปัจจัย [๕๒๖] กุศลธรรมและอัพยากตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากตธรรม โดย สหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดย สหชาตปัจจัย [๕๒๗] อกุศลธรรม และอัพยากตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากตธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอกุศลและมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๐ บรรทัดที่ ๖๐๒๒-๖๐๗๙ หน้าที่ ๒๓๖-๒๓๘. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=6022&Z=6079&pagebreak=1 http://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=40&A=6022&pagebreak=1              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=47              ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=519              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=40&A=3265              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=40&A=3265              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_40

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]