ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๘ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน
ปัญหาวาร
[๑๙๗๐] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย [๑๙๗๑] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย เหตุปัจจัย [๑๙๗๒] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย เหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๑๙๗๓] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอตีตธรรม พิจารณาเนวสัญญานาสัญญยตนะ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุส- *สติญาณ ฯลฯ พิจารณายถากัมมุปคญาณ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอตีตารัมมณธรรมกิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ ขันธ์นั้น ราคะ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๗๔] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอนาคตธรรม พิจารณาเนวสัญญานาสัญญา- *ยตนะ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมุปคญาณ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน ยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๗๕] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปัจจุปันนธรรม ซึ่งเป็นอตีตารัมมณ- *ธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปันนธรรม ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริย- *ญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๗๖] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณ ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมปัจจัย [๑๙๗๗] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณ ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม พิจารณากิเลส ที่ข่มแล้ว กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๗๘] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นอนาคตา- *รัมมณธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโต- *ปริยญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๗๙] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนรัมมณธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นปัจจุป- *ปันนารัมมณธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ เจโตปริยญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๘๐] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาทิพพจักขุที่เป็นอตีตธรรม พิจารณาทิพพโสตธาตุ พิจารณาอิทธิ- *วิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม กิเลสที่ข่ม แล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๘๑] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาทิพพจักขุที่เป็นอนาคตธรรม พิจารณาทิพพโสตธาตุ พิจารณาอิทธิ วิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะ ปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๘๒] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอดีตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำเนวสัญญานาสัญญายตนะให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรมให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ กระทำยถากัมมุปคญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณ- *ธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๙๘๓] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอนาคต ธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ กระทำอิทธิวิธญาณ ที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมุปคญาณ ฯลฯ กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่ง เป็นอตีตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ กระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๑๙๘๔] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอธิปติ- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็น อนาคตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำ อนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๙๘๕] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตา- *รัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำอนาคตังสญาณ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้น ให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๑๙๘๖] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๙๘๗] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอธิปติ- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำทิพพจักขุที่เป็นอตีตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำทิพพโสตธาตุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว พิจารณา กระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำเจโตปริยญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณ- *ธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๑๙๘๘] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอธิปติ- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำทิพพจักขุที่เป็นอนาคตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำทิพพโสตธาตุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคตซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็น อนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๑๙๘๙] อตีตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย [๑๙๙๐] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ภวังค์ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๙๙๑] อตีตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย คือ จุติจิตที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปฏิสนธิจิตที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณ- *ธรรม โดยอนันตรปัจจัย ภวังค์ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๙๙๒] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย [๑๙๙๓] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ อิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอตีตารัมมณ- *ธรรม เจโตปริยญาณ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม อนาคตังสญาณ เป็นปัจจัย แก่วุฏฐานะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏ- *ฐานะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๙๙๔] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย อนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ปฏิสนธิจิตที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณ- *ธรรม ภวังค์ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๙๙๕] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย คือ ปฏิสนธิจิตที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นอตีตารัมมณ- *ธรรม ภวังค์ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม โดยอนันตร ปัจจัย [๑๙๙๖] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยสมนันตรปัจจัย เหมือนอนันตรปัจจัย [๑๙๙๗] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อัญญมัญญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดย นิสสยปัจจัย แม้ทั้ง ๓ ปัจจัย เหมือนกับ ปฏิจจวาร [๑๙๙๘] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยสมนัตรปัจจัย เหมือน อนันตรปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ทุกขา- *นุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุ- *ปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๙๙๙] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๐] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ทุกขานุ- *ปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม แก่ ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๑] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๒] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม แก่ ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๓] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่ อนิจจานุปัสสนา ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๔] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ฯลฯ มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดย อุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๕] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม แก่ ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๖] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๗] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย [๒๐๐๘] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอาเสวน- *ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย [๒๐๐๙] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย อาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย [๒๐๑๐] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๑] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรมเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๒] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรมเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๓] อนาคตรัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๔] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๕] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยกัมม- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๖] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรมเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๗] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยกัมม- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๘] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยกัมม- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๙] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยวิปากปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดย มัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อัตถิปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย นัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดย วิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อวิคตปัจจัย [๒๐๒๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๗ ในอนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย มี " ๗ ในอัญญมัญญปัจจัย มีวาระ ๓ ในนิสสยปัจจัย มีวาระ ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๓ ในอาหารปัจจัย มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย ในสัมปยุตตปัจจัย มีวาระ ๓ ในอัตถิปัจจัย มี " ๓ ในนัตถิปัจจัย มี " ๗ ในวิคตปัจจัย มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓ พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๒๐๒๑] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๒] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๓] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๔] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๕] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๖] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๗] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย โดยเป็นปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๘] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๙] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๓๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๙ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๙
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๒๐๓๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๒๐๓๒] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัญหาวาร จบ
อตีตารัมมณัตติกะ ที่ ๑๙ จบ
-----------------------------------------------------

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ บรรทัดที่ ๑๓๕๙๖-๑๓๙๘๒ หน้าที่ ๕๗๗-๕๙๓. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=13596&Z=13982&pagebreak=0 http://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=41&A=13596&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=42              ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1970              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=41&A=10865              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=41&A=10865              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_41

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]