ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๒ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๙ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
ปัญหาวาร
[๑๑๑] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ อโลภะ เป็นปัจจัยแก่อโทสะอโมหะ โดยเหตุปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาร ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น ทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ อโลภะ เป็นปัจจัยแก่อโทสะอโมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย
พึงให้พิสดาร
[๑๑๒] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภเหตุธรรม เหตุธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุก- *ธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภเหตุธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่ เหตุธรรม เกิดขึ้น ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภเหตุธรรม เหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณากุศลกรรม นั้น บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน บุคคลออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณา กิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้ว ในกาลก่อน ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่ เหตุธรรม โดยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธ- *ญาณแก่เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ มีอธิบายเหมือนข้อความตามบาลีตอนต้น ไม่มี แตกต่างกัน ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ มีอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีตอนต้น ไม่มีแตกต่างกัน ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เหตุธรรม ทั้งหลาย เกิดขึ้น ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุก- *ธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เหตุธรรมและ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น [๑๑๓] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำเหตุธรรมทั้งหลายให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำเหตุธรรมให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุก- *ธรรมเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุ ธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอธิปติ- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำเหตุธรรมทั้งหลายให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย โดย อธิปติปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถ- *กรรมแล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา ในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่น ฯลฯ แล้วพิจารณากระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรมให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วย่อมยินดีย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำความดีนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่ เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น ทั้งเหตุธรรม และ สเหตุกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ มีอธิบายเหมือนข้อ ความตามบาลีตอนต้นนั่นเอง ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุ- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุ- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรม และสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ มีอธิบายเหมือน ข้อความตามบาลีตอนต้นนั่นเอง ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่ เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย โดย อธิปติปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำเหตุธรรม และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำเหตุธรรม และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุก- *ธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำเหตุธรรม และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น [๑๑๔] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรม และสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอนันตรปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดหลังๆ โดย อนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดย อนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย อนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู สเหตุกนเหตุมูลกนัย แม้ทั้ง ๓ เป็นเช่นเดียวกัน ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรมโดย อนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ โดย อนันตรปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุ ธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอนันตร ปัจจัย [๑๑๕] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยนิสสยปัจจัย ทั้ง ๓ ปัจจัยเหมือนกับเหตุปัจจัย ในปฏิจจวาร [๑๑๖] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ เหตุธรรมทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย พึงถามถึงมูลทั้งหลาย แห่งหัวข้อปัจจัยทั้งหลาย แม้ทั้ง ๒ เหล่านี้ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำ ลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย ในสเหตุมูลกนัย พึงให้พิสดารโดยเหตุนี้ ที่เหลือนอกนั้น มีหัวข้อ ปัจจัย ๒ ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุกธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย
พึงถามถึงมูล ๒
เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
พึงถามถึงมูล
เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๑๗] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอาเสวนปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย [๑๑๘] ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดย กัมมปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดย กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก ขันธ์ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๑๙] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ อโลภะที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่อโทสะ อโมหะ โดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อโลภะ ฯลฯ พึงให้พิสดาร เหมือนกับเหตุปัจจัย พึงกำหนดว่า วิบากทั้ง ๙ นัย [๑๒๐] ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอาหารปัจจัย มี ๓ นัย [๑๒๑] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอินทริยปัจจัย พึงกำหนดว่า อินทรีย์ พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๙ ให้บริบูรณ์ [๑๒๒] ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยฌานปัจจัย มี ๓ นัย [๑๒๓] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม โดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอัตถิปัจจัย เป็นปัจจัย โดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัย โดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอวิคตปัจจัย [๑๒๔] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๙ ในอาหารปัจจัย มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๓ ในมัคคปัจจัย มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๙ ในวิคตปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมจบ
[๑๒๕] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาต ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุก ธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๒๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๒๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๒๘] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๙
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
เหตุสเหตุกทุกะ จบ

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๒ บรรทัดที่ ๒๑๑๓-๒๔๘๔ หน้าที่ ๘๗-๑๐๒. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=42&A=2113&Z=2484&pagebreak=0 http://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=42&A=2113&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=42&siri=9              ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=111              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=42&A=1397              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=42&A=1397              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ http://84000.org/tipitaka/read/?index_42

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]