ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๑๐ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
นิยยานิกทุกะ
ปฏิจจวาร
[๘๑๓] นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ. อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม. นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูต- *รูป ๑ ฯลฯ. อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย. [๘๑๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๒ ในอธิปติปัจจัย มี " ๕ ในอนันตรปัจจัย มี " ๒ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๒ ในสหชาตปัจจัย มี " ๕ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๒ ในนิสสยปัจจัย มี " ๕ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๒ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๒ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒ ในกัมมปัจจัย มี " ๕ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๕ ในอวิคตปัจจัย มี " ๕. [๘๑๕] อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ. ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย. [๘๑๖] นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย คือ อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ พึงทำปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์. ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะสมนันตรปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ [๘๑๗] นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม ฯลฯ อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตต- *สมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม ปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์. อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาต- *ปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย. [๘๑๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓.
การนับทั้งสอง นอกจากนี้ก็ดี สหชาตวารก็ดี พึงกระทำ.
ปัจจยวาร
[๘๑๙] นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ตลอดถึง อัชฌัตติกมหาภูตรูป ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. นิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย. นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย. [๘๒๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๔ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๔ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๔ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๔ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๔ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๔ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๔ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙. [๘๒๑] อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ ฯลฯ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนิยยานิกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทัยวัตถุ. [๘๒๒] อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย. [๘๒๓] นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย คือ อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์. นิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย คือ อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติ- *ปัจจัย คือ อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรมและหทัย- *วัตถุ. [๘๒๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มีวาระ ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓.
การนับทั้งสอง นอกจากนี้ก็ดี นิสสยวารก็ดี พึงกระทำ.
สังสัฏฐวาร
[๘๒๕] นิยยานิกธรรม คลุกเคล้ากับนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ. อนิยยานิกธรรม คลุกเคล้ากับอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ. [๘๒๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๒ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย มี " ๒. [๘๒๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๒.
การนับทั้งสอง นอกจากนี้ก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.
ปัญหาวาร
[๘๒๘] นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุ- *ปัจจัย.
พึงกระทำมูล
เหตุทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย.
พึงกระทำมูล
เหตุทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ. [๘๒๙] นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นนิยยานิกธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่บุพเพ ฯลฯ แก่ อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ บุคคลกระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณาซึ่งกุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น กุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ จากฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายพิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่ผล แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคย เกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม โดยความเป็นของไม่ เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอนิยยานิกธรรม โดยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่ เนวสัญญานาสัญญายตนะ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดย อารัมมณปัจจัย. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอารัมมณปัจจัย. [๘๓๐] นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ. ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา. ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย.
พึงกระทำมูล
อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ. ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ บุคคลกระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ เกิดขึ้น กุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายกระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำนิพพาน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่ผล โดยอธิปติปัจจัย จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรมให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น. ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอธิปติปัจจัย [๘๓๑] นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล โดยอนันตรปัจจัย. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนิยยานิกธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน ผล เป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลม เป็นปัจจัย แก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอนันตรปัจจัย. ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสมนันตรปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย มี ๕ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยนิสสยปัจจัย มี ๗ นัย. [๘๓๒] นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรค เป็นปัจจัย แก่ทุติยมรรค โดย อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค โดยอุปนิสสยปัจจัย. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลายเข้าไปอาศัยมรรคแล้ว ยังสมาบัติ ที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว พิจารณาเห็นสังขารทั้งหลาย โดยความเป็น ของไม่เที่ยง มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา แก่ธัมมปฏิสัมภิทา แก่นิรุตติปฏิสัมภิทา แก่ปฏิภาณ- *ปฏิสัมภิทา แก่ฐานาฐานโกสละ ของพระอริยะทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอนิยยานิกธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฌาน วิปัสสนา อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา ฤดู โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ฯลฯ แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรมแห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค โดยอุปนิสสยปัจจัย. [๘๓๓] อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอาเสวนปัจจัย มี ๒ นัย. [๘๓๔] นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ผล โดยกัมมปัจจัย.
พึงกระทำมูล
เจตนาที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ฯลฯ ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ผล โดยกัมมปัจจัย. ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยวิปากปัจจัย มี ๑ นัย เท่านั้น ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอาหารปัจจัย มี ๔ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอินทริยปัจจัย มี ๔ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยฌานปัจจัย มี ๔ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยมัคคปัจจัย มี ๔ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ นัย
พึงกระทำเหมือนอรูปทุกะ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอัตถิปัจจัย มี ๗ นัย
พึงกระทำเหมือนอรูปทุกะ.
หลักจำแนกหัวข้อปัจจัย มีบทต่างกันนั้น ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยนัตถิปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยวิคตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอวิคตปัจจัย. [๘๓๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๔ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๕ ในอนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย มี " ๕ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๒ ในนิสสยปัจจัย มี " ๗ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๔ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๒ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๒ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒ ในกัมมปัจจัย มี " ๔ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๔ ในอินทริยปัจจัย มี " ๔ ในฌานปัจจัย มี " ๔ ในมัคคปัจจัย มี " ๔ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๒ ในวิปปยุตตปัจจัย มีวาระ ๓ ในอัตถิปัจจัย มี " ๗ ในนัตถิปัจจัย มี " ๓ ในวิคตปัจจัย มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย มี " ๗ [๘๓๖] นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาต- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม โดยสหชาตปัจจัย. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาต- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาต- *ปัจจัย. นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย. นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย. [๘๓๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สหชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๔ [๘๓๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔. [๘๓๙] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕.
อนุโลมนาติกาพึงให้พิสดาร.
ในอวิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๗.
นิยยานิกทุกะ จบ

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๓ บรรทัดที่ ๑๓๗๗๑-๑๔๑๓๙ หน้าที่ ๕๓๘-๕๕๒. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=13771&Z=14139&pagebreak=0 http://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=43&A=13771&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=43&siri=115              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=43&A=10050              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=43&A=10050              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_43

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]