ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๘ สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
๘. ปิตุสูตร
[๕๙๗] พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่านอนาถ- *บิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาค ... ได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ลาภสักการะและชื่อเสียง ทารุณ เผ็ดร้อน หยาบคาย เป็น อันตรายแก่การบรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะ ซึ่งไม่มีธรรมอื่นยิ่งไปกว่า ฯ [๕๙๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากำหนดใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้บุคคลบางคน ในโลกนี้ อย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุบิดา ... ฯ
จบสูตรที่ ๘
๙. ภาตุสูตร
... เรากำหนดใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้บุคคลบางคนในโลกนี้ อย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุพี่ชายน้องชาย ... ฯ
จบสูตรที่ ๙
๑๐. ภคินิสูตร
... เรากำหนดใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้บุคคลบางคนในโลกนี้ อย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุพี่สาวน้องสาว ... ฯ
จบสูตรที่ ๑๐
๑๑. ปุตตสูตร
... เรากำหนดใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้บุคคลบางคนในโลกนี้ อย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุแห่งบุตร ... ฯ
จบสูตรที่ ๑๑
๑๒. ธีตุสูตร
... เรากำหนดใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้บุคคลบางคนในโลกนี้ อย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุแห่งธิดา ... ฯ
จบสูตรที่ ๑๒
๑๓. ปชาปติสูตร
... เรากำหนดใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้บุคคลบางคนในโลกนี้ อย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุแห่งภรรยา ท่านผู้นี้ก็ไม่จงใจพูดมุสา แต่สมัยต่อมา เราเห็นเขา ถูกลาภสักการะและชื่อเสียงครอบงำย่ำยีจิตแล้ว ก็กล่าวมุสาทั้งที่รู้ได้ ดูกรภิกษุ- *ทั้งหลาย ลาภสักการะและชื่อเสียง ทารุณ เผ็ดร้อน หยาบคาย เป็นอันตราย แก่การบรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะ ซึ่งไม่มีธรรมอื่นยิ่งไปกว่าอย่างนี้ เพราะเหตุ นั้นแล ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราทั้งหลายจักละลาภ สักการะและชื่อเสียงที่เกิดขึ้นแล้วเสีย และลาภสักการะและชื่อเสียงที่บังเกิดขึ้น แล้ว จักย่ำยีจิตของเราทั้งหลายตั้งอยู่ไม่ได้ เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้แหละ ฯ
จบสูตรที่ ๑๓
จบจตุตถวรรคที่ ๔
-----------------------------------------------------
รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ
๑. ภินทิสูตร ๒. มูลสูตร ๓. ธรรมสูตรที่ ๑ ๔. ธรรมสูตรที่ ๒ ๕. ปักกันตสูตร ๖. รถสูตร ๗. มาตุสูตร ๘. ปิตุสูตร ๙. ภาตุสูตร ๑๐. ภคินิสูตร ๑๑. ปุตตสูตร ๑๒. ธีตุสูตร ๑๓. ปชาปติสูตร
จบลาภสักการสังยุตต์ที่ ๕
-----------------------------------------------------

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖ บรรทัดที่ ๖๓๗๕-๖๔๑๘ หน้าที่ ๒๗๑-๒๗๓. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=16&A=6375&Z=6418&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=16&siri=182              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=16&i=597              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- [597-598] https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=16&item=597&items=2              The Pali Tipitaka in Roman :- [597-598] https://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=16&item=597&items=2              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖ https://84000.org/tipitaka/read/?index_16              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://84000.org/tipitaka/english/metta.lk/16i582-e.php#sutta8 https://suttacentral.net/sn17.38-43/en/sujato

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :