ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๘ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน
ปัจจยวาร
[๑๐๔๒] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๓๐.

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยอปจยคามิธรรม มี ๓ นัย [๑๐๔๓] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ อาศัย มหาภูตรูป ๑ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ อปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ อปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจย- *คามิธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยมหาภูต- *รูปทั้งหลาย [๑๐๔๔] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม ฯลฯ เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๓๑.

เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจย- *คามิธรรม ฯลฯ เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และ เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตต- *สมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ มี ๓ นัย [๑๐๔๕] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม ฯลฯ อาศัยอปจยคามิธรรม มี ๑ นัย [๑๐๔๖] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจคามิธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัย- *หทัยวัตถุ อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ อปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ [๑๐๔๗] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๓๒.

[๑๐๔๘] อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอปจยคามิธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๐๔๙] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ นัย อปจยคามิธรรม มี ๓ นัย เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามิ- *นาปจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ แม้ในข้อนี้ ปัจจัยสงเคราะห์ก็เหมือนกับเหตุปัจจัย [๑๐๕๐] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เพราะ สหชาตปัจจัย มี ๓ นัย อปจยคามิธรรม มี ๓ นัย เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะ สหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจคามิธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ อาศัยหทัยวัตถุ อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ
พึงกระทำปัจจัยสงเคราะห์ทั้งหลาย
[๑๐๕๑] อปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะ อัญญมัญญปัจจัย เพราะ นิสสยปัจจัย เพราะ อุปนิสสยปัจจัย เพราะ ปุเรชาตปัจจัย เพราะ อาเสวนปัจจัย เพราะ กัมมปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๓๓.

เพราะ วิปากปัจจัย เพราะ อาหารปัจจัย เพราะ อินทริยปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย เพราะ สัมปยุตตปัจจัย เพราะ วิปปยุตตปัจจัย เพราะ อัตถิปัจจัย เพราะ นัตถิปัจจัย เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย [๑๐๕๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๗ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๗ ในอธิปติปัจจัย มี " ๑๗ ในอนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย มี " ๑๗ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๗ ในนิสสยปัจจัย มี " ๑๗ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๗ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๗ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๗ ในกัมมปัจจัย มี " ๑๗ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๑๗ ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย มี " ๑๗ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๗ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๑๗ ในอัตถิปัจจัย มี " ๑๗

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๓๔.

ในนัตถิปัจจัย มีวาระ ๗ ในวิคตปัจจัย มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๗
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๑๐๕๓] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่ เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคา- *มินาปจยคามิธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทัยวัตถุ [๑๐๕๔] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและหทัยวัตถุ [๑๐๕๕] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่ เพราะอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับ ปฏิจจวาร

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๓๕.

[๑๐๕๖] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติ- *ปัจจัย มี ๓ นัย อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย คือ อธิปติธรรมที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ คือ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอธิปติ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ อปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอธิปติ- *ปัจจัย คือ อธิปติธรรมที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจย- *คามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูต- *รูปทั้งหลาย [๑๐๕๗] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจย- *คามิธรรม ฯลฯ คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๓๖.

อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และ เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตต- *สมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๐๕๘] อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย คือ อธิปติธรรมที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม และ หทัยวัตถุ ไม่ใช่เพราะอนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะสมนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะอัญญมัญญปัจจัย ไม่ใช่เพราะอุปนิสสยปัจจัย ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาร มีหัวข้อปัจจัย ๗ ไม่ใช่เพราะปัจฉาชาตปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม [๑๐๕๙] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี ๓ นัย เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอาเสวน- *ปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ คือ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ อาศัยจักขายตนะ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอาเสวน- *ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจย- *คามิธรรม ฯลฯ

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๓๗.

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูต- *รูปทั้งหลาย [๑๐๖๐] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจย- *คามิธรรม ฯลฯ คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และ เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๒ และ หทัยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรมและมหาภูตรูปทั้งหลาย เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจย- *คามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอปจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๐๖๑] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่ เพราะกัมมปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๓๘.

คือ เจตนาที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามิ- *นาปจยคามิธรรม พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ เจตนาที่ เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะกัมม- *ปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ อปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะกัมม- *ปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยหทัยวัตถุ [๑๐๖๒] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรมและหทัยวัตถุ [๑๐๖๓] อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรมและหทัยวัตถุ [๑๐๖๔] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย พึงกระทำให้เต็ม ในปฏิสนธิขณะ ไม่มี [๑๐๖๕] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอาหารปัจจัย คือ พาหิรรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๑๐๖๖] ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอินทริยปัจจัย คือ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ส่วนพวกอสัญญสัตว์ ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๐๖๗] ฯลฯ ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๓๙.

คือ ปัญจวิญญาณ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วน พวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายายตนะ ฯลฯ [๑๐๖๘] ฯลฯ ไม่ใช่เพราะมัคคปัจจัย คือ เนวาจยคามินาปจยคามิ ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ อาศัยกายายตนะ เนวาจคามิ ฯลฯ ซึ่งเป็น อเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ ฯลฯ ไม่ใช่เพราะสัมปยุตตปัจจัย ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย เหมือนกับ ปฏิจจวาร มี ๓ นัย ไม่ใช่เพราะนัตถิปัจจัย ไม่ใช่เพราะวิคตปัจจัย [๑๐๖๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๑๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๑๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๑๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๑๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๔๐.

ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๕
พึงนับอย่างนี้
ปัจจะนียะ จบ
[๑๐๗๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๔๑.

[๑๐๗๑] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๔ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๔ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ ในนัตถิปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๔ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาร จบบริบูรณ์
นิสสยวาร เหมือนกับ ปัจจยวาร

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ บรรทัดที่ ๗๗๕๐-๘๐๓๕ หน้าที่ ๓๒๙-๓๔๑. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=7750&Z=8035&pagebreak=1              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=19              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1042              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- [1042-1071] https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=41&item=1042&items=30              The Pali Tipitaka in Roman :- [1042-1071] https://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=41&item=1042&items=30              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ https://84000.org/tipitaka/read/?index_41

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :