ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๐ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
ปัญหาวาร
[๒๐๗] จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต และกฏัตตารูป ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดย เหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยเหตุปัจจัย. [๒๐๘] จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดยอารัมมณปัจจัย มี ๙ นัย เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน. [๒๐๙] จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๓ นัย อารัมมณาธิปติก็ดี สหชาตาธิปติก็ดี พึงกระทำ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๓ นัย อารัมมณาธิปติก็ดี สหชาตาธิปติก็ดี พึงกระทำแก่ธรรมทั้ง ๓ แม้เหล่านี้ แม้ปัญหา ๙ ข้อ ก็เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ในบทปลายมี ๓ นัย เป็นอารัมมณาธิปติอย่างเดียว. [๒๑๐] จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดยอนันตรปัจจัย มี ๙ นัย เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน. เป็นปัจจัย โดยสมนันตรปัจจัย มี ๙ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย มี ๙ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. เป็นปัจจัย โดยนิสสยปัจจัย มี ๙ นัย เหมือนกับปัจจวาร. เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ นัย เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ. [๒๑๑] ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดย ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต มี ๓ นัย. ได้เฉพาะธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสหภูธรรมเป็นมูลเท่านั้น ทั้ง ๓ นัย นี้ เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน. [๒๑๒] จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่จิตต- *สหภูธรรมนี้ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยปัจฉาชาต- *ปัจจัย. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภู- *ธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย. เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ นัย. [๒๑๓] จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น จิตตสหภูธรรม ที่เป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต และจิตตสมุฏฐาน- *รูปทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากจิต และ กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. จิตตสหภูธรรมเป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดย กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดย กัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย และจิต และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. [๒๑๔] จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดยวิปากปัจจัย เหมือนจิตต- *สมุฏฐานทุกะ. เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๙ นัย เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ แม้ทุกะนี้ก็มี ๑ นัย เหมือนกพฬิงการาหาร. [๒๑๕] จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดยอินทริยปัจจัย มี ๙ นัย เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน. เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ นัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ นัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ นัย. [๒๑๖] จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่ จิตตสหภูธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยวิปปยุตต- *ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ จิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย จิต เป็น ปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต โดยวิปปยุตตปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยวิปปยุตตปัจจัย กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต โดยวิปปยุตตปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ จิต เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรมนี้ที่เกิดก่อน โดย วิปปยุตตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ จิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย. ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุ- *วิญญาณ โดยวิปปยุตตปัจจัย กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น จิตตสหภูธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภู- *ธรรม โดยวิปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ จิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ. ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภู- *ธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม และจิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรมนี้ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม และจิต เป็นปัจจัย แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย. [๒๑๗] จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาร จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดย อัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาร. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภู- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ฯลฯ. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดย อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ และ จักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ สหชาต ปุเรชาต พึงกระทำในปฏิสนธิทั้งหมด. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็น ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น จิตตสหภูธรรม และจิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดย อัตถิปัจจัย. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัย แก่จิต โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๓ นัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรมนี้ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม และกพฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรมนี้ โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ เหมือนกับปัจจยวาร. [๒๑๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๙ ในอาหารปัจจัย มี " ๙ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๓ ในมัคคปัจจัย มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย มีวาระ ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๙ ในวิคตปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙. [๒๑๙] จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยกัมมปัจจัย. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภู- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภู- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย. [๒๒๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๙. [๒๒๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓. [๒๒๒] ในอารัมมณปัจจัยกับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙.
พึงกระทำอนุโลมมาติกา.
จิตตสหภุทุกะ จบ.
-----------------------------------------------------

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๓ บรรทัดที่ ๓๓๐๘-๓๕๔๕ หน้าที่ ๑๒๘-๑๓๗. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=3308&Z=3545&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=43&siri=24              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- [207-222] https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=43&item=207&items=16              The Pali Tipitaka in Roman :- [207-222] https://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=43&item=207&items=16              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ https://84000.org/tipitaka/read/?index_43

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :