ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๑ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
กุสลัตติกเหตุทุกะ
[๑] เหตุธรรมที่เป็นกุศล อาศัยเหตุธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้นเพราะเหตุ- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุ- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย [๒] เหตุธรรมที่เป็นกุศล อาศัยเหตุธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย [๓] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๓ ในอนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓ [๔] เหตุธรรมที่เป็นกุศล อาศัยเหตุธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะอธิปติปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ อธิปติปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย [๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ [๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ [๗] ในเหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในสหชาตวารก็ดี ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี มีหัวข้อปัจจัย ๓ ทุกปัจจัย [๘] เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดยเหตุ- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยเหตุปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย เหตุปัจจัย [๙] เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอารัมมณ- *ปัจจัย มี ๓ นัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย [๑๐] เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดย อธิปติปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอธิปติปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดยอธิปติ- *ปัจจัย มี ๓ นัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอธิปติ- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อธิปติปัจจัย ฯลฯ เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอธิปติ- *ปัจจัยมี ๓ นัย [๑๑] เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดย อนันตรปัจจัย มี ๒ นัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอนันตร- *ปัจจัย มี ๒ นัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อนันตรปัจจัย [๑๒] เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดย สหชาตปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยสหชาต- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอัพยากฤต โดยสหชาตปัจจัย อัญญมัญญนิสสยปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย [๑๓] เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดยอุป- *นิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดยอุป- *นิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอุป- *นิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดยอุป- *นิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอัพยากฤต โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ นัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอัพยากฤต โดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นกุศล โดย อุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอกุศล โดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๔] เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดยวิปากปัจจัย [๑๕] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๗ ในอนันตรปัจจัย มี " ๕ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๕ ในสหชาตปัจจัย มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอินทริยปัจจัย มี " ๒ ในมัคคปัจจัย มี " ๒ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย มี " ๓ ในนัตถิปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๕ ในวิคตปัจจัย มี " ๕ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓ [๑๖] เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ นัย [๑๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙ [๑๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ [๑๙] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ อนุโลมก็ดี ปัจจนียะก็ดี อนุโลมปัจจนียะก็ดี ปัจจนียานุโลมก็ดี แห่ง ปัญหาวาร ในกุสลัตติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น [๒๐] นเหตุธรรมที่เป็นกุศล อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นกุศล และนเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยเหตุธรรม ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุ- *ปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล และนเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยนเหตุ- *ธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นกุศล และนเหตุธรรม ที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นอกุศลและ นเหตุธรรม ที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย [๒๑] นเหตุธรรมที่เป็นกุศล อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย [๒๒] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอารัมมณปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๙ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๙ ในมัคคปัจจัย มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๓ ในวิคตปัจจัย มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙ [๒๓] นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย [๒๔] นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นกุศล และนเหตุธรรม ที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นอกุศล และนเหตุธรรม ที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย [๒๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๕ [๒๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๕ [๒๗] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ สหชาตวารก็ดี ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตตวาร ก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาร [๒๘] นเหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นกุศล โดย อารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดย อารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดย อารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นกุศล โดย อารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดยอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นกุศล โดย อารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดย อารัมมณปัจจัย [๒๙] นเหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นกุศล โดย อธิปติปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดย อธิปติปัจจัย มี ๔ นัย นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดย อธิปติปัจจัย มี ๓ นัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดยอธิปติปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นกุศล โดยอธิปติ ปัจจัย มี ๓ นัย [๓๐] นเหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นกุศล โดย อนันตรปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อนันตรปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอนันตร ปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อนันตรปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดยอนันตรปัจจัย มี ๓ นัย [๓๑] นเหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นกุศล โดย อุปนิสสยปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อุปนิสสยปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดย อุปนิสสยปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดย อุปนิสสยปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อุปนิสสยปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดยอุปนิสสยปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นกุศล โดย อุปนิสสยปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดย อุปนิสสยปัจจัย [๓๒] ในอารัมมณปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๑๐ ในอนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๑๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๗ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๗ ในอินทริยปัจจัย มี " ๗ ในฌานปัจจัย มี " ๗ ในมัคคปัจจัย มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๑๓ ในนัตถิปัจจัย มี " ๗ ในวิคตปัจจัย มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๓ [๓๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๑๕ [๓๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ [๓๕] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ปัญหาวารในกุสลัตติกะฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น
กุสลัตติกเหตุทุกะ จบ

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๔ บรรทัดที่ ๙๙๔๔-๑๐๒๕๔ หน้าที่ ๔๑๗-๔๒๙. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=44&A=9944&Z=10254&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=44&siri=130              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=44&i=1912              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- [1912-1946] https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=44&item=1912&items=35              The Pali Tipitaka in Roman :- [1912-1946] https://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=44&item=1912&items=35              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ https://84000.org/tipitaka/read/?index_44

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :