ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
ผลการค้นหาคำว่า “ คล้ายกรรม ” :-
พบในอรรถกถาเพื่ออธิบายเนื้อความในพระไตรปิฎก ดังนี้ :-
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๑ ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค

               อรรถกถา ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
               ลักขณสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=11&i=130&p=1&h=คล้ายกรรม#hl

               ด้วยเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสกรรม คล้ายกรรม ลักษณะและอานิสงส์แห่งลักษณะไว้.
               ชื่อว่าคล้ายกรรม.
               ด้วยเหตุนี้ว่า พระมหาบุรุษได้ถวายทานกระทำให้มีของบริวารดังนี้ ชื่อว่าคล้ายกรรม.
               ชนทั้งหลายเมื่อจะทำปาณาติบาต เหยียบด้วยปลายเท้า เพราะกลัวจะได้ยินเสียงเท้า ไปฆ่าผู้อื่น ชื่อว่าคล้ายกรรม.
               ด้วยเหตุนี้ เพราะฉะนั้น มหาปุริสลักษณะคือมีพระองคุลียาวย่อมเกิดขึ้น นี้คือคล้ายกรรมในบทนี้
               เมื่อโภชนะเศร้าหมอง ตกถึงท้องโลหิตซูบซีด เนื้อเหี่ยวแห้ง ชื่อว่า คล้ายกรรม.
               เขาจึงเป็นผู้มีมือและเท้ากระด้างและเป็นผู้มีลักษณะของคนที่ตั้งอยู่ไม่เรียบ ชื่อว่า คล้ายกรรม.
               ดังนั้น จึงเป็นผู้มีเท้าดุจสังข์ในเบื้องต่ำ และมีขนลงเบื้องต่ำ ชื่อว่าคล้ายกรรม.

               อรรถกถา ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
               ลักขณสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=11&i=130&p=2&h=คล้ายกรรม#hl

               แต่โลกพร้อมด้วยเทวโลกจงรู้ความที่พระตถาคตทรงบอกด้วยความเคารพด้วยเหตุนี้ ดังนั้น พระลักษณะคือมีพระชงฆ์ดุจแข้งทรายเรียวขึ้นไปโดยลำดับย่อมเกิดขึ้น ชื่อว่าคล้ายกรรม.
               ด้วยเหตุนี้ เพราะฉะนั้น มหาปุริสลักษณะมีสีเหมือนทองย่อมเกิดขึ้น ชื่อว่าคล้ายกรรม.
               ลำดับนั้น โลกพร้อมด้วยเทวโลกจงรู้ความที่กรรมเห็นปานนี้ อันพระตถาคตนั้นทรงกระทำ ด้วยเหตุนี้ ดังนั้นลักษณะคือมีพระคุยหะเร้นอยู่ในฝักย่อมเกิดขึ้น ชื่อว่าคล้ายกรรม.
               โลกพร้อมด้วยเทวโลกจงรู้กรรมนั้นของพระโพธิสัตว์ด้วยเหตุนี้ ดังนั้นลักษณะสองอย่างนี้ย่อมเกิดขึ้น ชื่อว่าคล้ายกรรม.
               ด้วยเหตุนี้ของพระโพธิสัตว์นั้น ดังนั้นพระลักษณะ ๓ ประการอันบริบูรณ์ครบถ้วน อันไม่เสื่อมเหล่านี้ ย่อมเกิดขึ้น นั้นชื่อว่าคล้ายกรรม.
               ย่อมเกิดขึ้น ชื่อว่าคล้ายกรรม. ลักษณะนี้แหละ ชื่อว่าลักษณะ. ความเป็นผู้มีอาพาธน้อย ชื่อว่าอานิสงส์.
               ด้วยเหตุนี้ ดังนั้นมหาปุริสลักษณะ ๒ ประการอันกระทำความสมบูรณ์แก่พระเนตรย่อมเกิดขึ้น ชื่อว่าคล้ายกรรม.
               ด้วยเหตุนี้ ดังนั้นลักษณะคือมีพระเศียรดุจประดับด้วยกรอบพระพักตร์ย่อมเกิดขึ้น ชื่อว่าคล้ายกรรม.
               ด้วยเหตุนี้ ดังนั้นพระลักษณะคือมีพระโลมาขุมละเส้นๆ เสมอกันไปทุกขุมขนและพระลักษณะคือพระอุณณาโลมย่อมเกิด ชื่อว่าคล้ายกรรม.
               อนึ่ง โลกพร้อมด้วยเทวโลกจงรู้ความที่พระตถาคตมีพระวาจาไม่ส่อเสียดตลอดกาลนาน ด้วยเหตุนี้ ดังนั้นลักษณะทั้งสองนี้ย่อมเกิด ชื่อว่าคล้ายกรรม.
               ดังนั้น พระลักษณะคือมีเสียงดุจเสียงพรหมย่อมเกิดขึ้น ชื่อว่าคล้ายกรรม.
               ดังนั้นพระลักษณะคือมีพระหนุดุจคางสีหะ ย่อมเกิดขึ้น ชื่อว่าคล้ายกรรม.
               ดังนั้นพระลักษณะคือมีพระทนต์เรียบเสมอกัน และพระลักษณะคือมีพระทาฐะขาวงามย่อมเกิดขึ้น ชื่อว่าคล้ายกรรม.
		ข้อความ   
		กำหนดเล่มที่เริ่มค้น และจำนวนเล่มที่จะค้น
		     โดยเลขที่ของเล่ม เริ่มเล่มที่   จำนวนเล่มที่ค้น 
		     โดยเนื้อหาอรรถกถา ค้นใน 

0 วิ.

บันทึก ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]