มิจฉัตตัตติกะ
ปฏิจจวาร
[๑๖๓๒] มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ
อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม
มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ-
*ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๖๓๓] สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม ฯลฯ เพราะเหตุปัจจัย
มี ๓ นัย
[๑๖๓๔] อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม ฯลฯ เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ขันธ์
๒ ฯลฯ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๓ อาศัย-
*มหาภูตรูป ๑ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ๒
[๑๖๓๕] อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม ฯลฯ เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย
[๑๖๓๖] อนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม ฯลฯ เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย
[๑๖๓๗] มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณ-
*ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๖๓๘] สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๖๓๙] อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ
ปัจจัยทั้งหมด พึงให้พิสดารด้วยเหตุนี้ ฯลฯ
[๑๖๔๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓
ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
ในอนันตรปัจจัย มี " ๓
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๓
ในสหชาตปัจจัย มี " ๙
ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓
ในนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓
ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓
ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓
ในกัมมปัจจัย มี " ๙
ในวิปากปัจจัย มี " ๑
ในอาหารปัจจัย มี " ๙
ในอินทริยปัจจัย มี " ๙
ในฌานปัจจัย มี " ๙
ในมัคคปัจจัย มี " ๙
ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓
ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๙
ในอัตถิปัจจัย มี " ๙
ในนัตถิปัจจัย มีวาระ ๓
ในวิคตปัจจัย มี " ๓
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๑๖๔๑] อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ อาศัยมหาภูตรูป ๑ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ
อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
[๑๖๔๒] อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณ-
*ปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ฯลฯ
[๑๖๔๓] มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติ-
*ปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม
[๑๖๔๔] สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติ-
*ปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม
[๑๖๔๕] อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
[๑๖๔๖] อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอนันตรปัจจัย
ปัจจัยทั้งหมด พึงให้พิสดาร
[๑๖๔๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๖
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๒
ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๕
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๖๔๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๖๔๙] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑
ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยาวาร จบ
สหชาตวาร เหมือนกับปฏิจจวาร
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ บรรทัดที่ ๑๑๕๙๑-๑๑๗๑๕ หน้าที่ ๔๙๒-๔๙๘.
http://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=41&A=11591&Z=11715&pagebreak=0
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/m_siri.php?B=41&siri=33
ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1632
ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :-
[1632-1649] http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=41&item=1632&items=18
อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12742
The Pali Tipitaka in Roman :-
[1632-1649] http://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=41&item=1632&items=18
The Pali Atthakatha in Roman :-
http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12742
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑
http://84000.org/tipitaka/read/?index_41
อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :-
https://suttacentral.net/patthana1.16/en/narada
บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]