บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
ปัญหาวาร [๖๖๒] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดยเหตุ ปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๖๖๓] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๖๖๔] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนว- *ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๖๖๕] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม โดยเหตุ ปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๖๖๖] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม ฯลฯ คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๖๖๗] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนว- *ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๖๖๘] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว- *นายปหาตัพพธรรม ฯลฯ คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๖๖๙] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้นทิฏฐิ เกิดขึ้น วิจิกิจฉาเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งทิฏฐิ เพราะปรารภทิฏฐินั้นราคะที่เป็นทัสส- *เนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น วิจิกิจฉาเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะปรารภวิจิกิจฉา วิจิกิจฉาเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ- *ธรรมเกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมโทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหา- *ตัพพธรรมเกิดขึ้น วิจิกิจฉาเกิดขึ้น [๖๗๐] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม รู้ซึ่ง กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดยความเป็นของไม่ เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดยเจโต ปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณแก่บุพเพนิวา สานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๖๗๑] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เพราะ ปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น อุทธัจจะเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาว- *นายปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น เพราะปรารภอุทธัจจะ อุทธัจจะเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น อุทธัจจะเกิดขึ้น [๖๗๒] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เพราะ ปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น วิจิกิจฉาเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น เพราะปรารภอุทธัจจะ ทิฏฐิเกิดขึ้น วิจิกิจฉาเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหา- *ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม โทมนัสที่เป็นทัสสเนน ปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น วิจิกิจฉาเกิดขึ้น [๖๗๓] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณาเห็นกิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม โดยความเป็นของไม่ เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมโดยเจโตปริย- *ญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณแก่บุพเพนิวาสา นุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๖๗๔] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว- *นายปหาตัพพธรรม โดยอารัมมณปัจจัย บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้น พิจารณา กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ออกจากฌาน พิจารณาฌาน พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่อวัชชนะ โดยอารัมมณ ปัจจัย บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์โดยความเป็น อนัตตา โสตะ ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัยวัตถุ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ ฯลฯ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยเจโตปริญญาณ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อกิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่ เนวสัญญานาสัญญายตนะ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย โผฏฐัพพาย- *ตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่ อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๖๗๕] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน ยิ่ง ซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น วิจิกิจฉาเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศล กรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน บุคคลออกจากฌานแล้ว ย่อมยินดีซึ่งฌานนั้น เพราะปรารภฌานนั้น ราคะที่เป็นทัสส เนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ เมื่อฌานเสื่อมแล้ว โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้นแก่บุคคลผู้มีความ เดือดร้อน บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักขุ โสตะ ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัยวัตถุ บุคคล ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เพราะ ปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ [๖๗๖] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดยิ่งซึ่ง กุศลธรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะเกิดขึ้น อุทธัจจะเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวานย- *ปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่เป็น เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพ เกิดขึ้น อุทธัจจะเกิดขึ้นโทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น [๖๗๗] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย อธิปปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งเพราะกระทำราคะนั้นให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น บุคคลกระทำทิฏฐิให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทิฏฐินั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๖๗๘] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๖๗๙] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนว- *ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายโดยอธิปติปัจจัย [๖๘๐] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม โดย อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งเพราะกระทำราคะนั้นให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๖๘๑] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพ- *ธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะนั้นให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น [๖๘๒] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย [๖๘๓] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม และ เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย [๖๘๔] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนน- *ภาวนายปหาตัพพธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณากระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล โดยอธิปติปัจจัย ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๖๘๕] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ- *ธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถ กรรมแล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิด ขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ หทัยวัตถุ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมให้ หนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำหทัยวัตถุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น [๖๘๖] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม ฯลฯ มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถ- *กรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน ซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น [๖๘๗] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย อนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้ง หลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย [๖๘๘] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตร ปัจจัย [๖๘๙] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม โดย อนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย [๖๙๐] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตร ปัจจัย [๖๙๑] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนา ยปหาตัพพธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่เนวทัสสเนนนภาวนาย ฯลฯ ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่ มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล สมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย [๖๙๒] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ- *ธรรม ฯลฯ คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดยอนันตร ปัจจัย [๖๙๓] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม โดยอนันตร ปัจจัย [๖๙๔] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย สมนันตรปัจจัยเหมือนกับ อนันตรปัจจัย [๖๙๕] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย สหชาตปัจจัย มี ๓ นัย [๖๙๖] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๓ นัย [๖๙๗] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนา ยปหาตัพพธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยสหชาตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๖๙๘] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย [๖๙๙] ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย [๗๐๐] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย อัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ [๗๐๑] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ [๗๐๒] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนา ยปหาตัพพธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุ โดยอัญญมัญญปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ หทัยวัตถุ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๗๐๓] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย นิสสยปัจจัย มี ๓ นัย ภาวนาย ฯลฯ มี ๓ นัย เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนาย ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ จักขายตนะ เป็น ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยกายวิญญาณ หทัยวัตถุ ฯลฯ [๗๐๔] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ- *ธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดยนิสสย ปัจจัย เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ คือ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม โดยนิสสย ปัจจัย [๗๐๕] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็น ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๗๐๖] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย [๗๐๗] ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็น ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย นิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๗๐๘] ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย [๗๐๙] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ- *ธรรมแล้ว ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๗๑๐] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม ฯลฯ มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหา ตัพพธรรมแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย [๗๑๑] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ มานะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๗๑๒] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม แล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ มานะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย ฉันทราคะในภัณฑะของตน เป็นปัจจัยแก่ฉันทราคะในภัณฑะของผู้อื่น โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย ฉันทราคะในสิ่งของที่หวงแหนของตน เป็นปัจจัยแก่ฉันทราคะในสิ่งของที่หวงแหนของ ผู้อื่น โดยอุปนิสสยปัจจัย [๗๑๓] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ มานะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๗๑๔] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนน- *ภาวนายปหาตัพพธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ สุตะ จาคะ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฤดู โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธา ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฤดู โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผล สมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๗๑๕] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ- *ธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๗๑๖] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฤดู โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ก่อมานะ ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฤดู โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๗๑๗] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว- *นายปหาตัพพธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา โสตะ ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาปหา- *ตัพพธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๗๑๘] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ- *ธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักขุ เพราะ ปรารภจักขุนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น วิจิกิจฉา เกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งหทัยวัตถุ เพราะปรารภหทัยวัตถุนั้น ราคะที่เป็น ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น วิจิกิจฉา เกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหา- *ตัพพธรรม เกิดขึ้น ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหา- *ตัพพธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๗๑๙] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักขุ เพราะ ปรารภจักขุนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น อุทธัจจะ เกิดขึ้น โทมนัสที่เป็น ภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น โสตะ ฯลฯ กาย รูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน ยิ่งซึ่งหทัยวัตถุ เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น อุทธัจจะ เกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นภาวนาย- *ปหาตัพพธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๗๒๐] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๗๒๑] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๗๒๒] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนน- *ภาวนายปหาตัพพธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๗๒๓] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย อาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย [๗๒๔] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม โดย อาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย [๗๒๕] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนน- *ภาวนายปหาตัพพธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภู เป็นปัจจัย แก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอาเสวนปัจจัย [๗๒๖] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย กัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย กัมมปัจจัย [๗๒๗] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก- *ขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๗๒๘] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏ- *ฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๗๒๙] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม โดย กัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย กัมมปัจจัย [๗๓๐] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดย กัมมปัจจัย [๗๓๑] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม และ เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏ- *ฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๗๓๒] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว- *นายปหาตัพพธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๗๓๓] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว- *นายปหาตัพพธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปากปัจจัย [๗๓๔] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย อาหารปัจจัย คือ ฯลฯ กวฬิงการาหาร มีหัวข้อปัจจัย ๗ ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย คือ จักขุนทรีย์ และรูปชีวิตินทรีย์ มีหัวข้อปัจจัย ๗ เป็นปัจจัย โดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัย โดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตต- *ปัจจัย เป็นปัจจัย โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๗๓๕] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาตแม้บทนี้ก็เหมือนกับทัสสเนนะ [๗๓๖] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว- *นายปหาตัพพธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปปยุตต- *ปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๗๓๗] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ- *ธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนน- *ปหาตัพพธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย [๗๓๘] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนาย- *ปหาตัพพ โดยวิปปยุตตปัจจัย [๗๓๙] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย อัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๗๔๐] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย [๗๔๑] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๓ นัยพึงกระทำเหมือนกับทัสสเนนะ [๗๔๒] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว- *นายปหาตัพพธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สำหรับอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความ เป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา โสตะ ฯลฯ กาย รูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นหทัยวัตถุโดยความเป็น ของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ รูปชีวิติน- *ทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย [๗๔๓] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักขุ เพราะปรารภจักขุนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น วิจิกิจฉา เกิดขึ้น โทมนัส เกิดขึ้น โสตะ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดีซึ่งหทัยวัตถุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๗๔๔] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักขุ เพราะ ปรารภจักขุนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น โทมนัส ที่เป็นภาวนาย- *ปหาตัพพธรรม ฯลฯ โสตะ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งหทัยวัตถุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๗๔๕] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็น ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และหทัยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ ฯลฯ [๗๔๖] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และกวฬิง- *การาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมและรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย [๗๔๗] ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็น ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯพึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๒ [๗๔๘] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย นัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดย วิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อวิคตปัจจัย [๗๔๙] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๘ ในอธิปติปัจจัย มี " ๑๐ ในอนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๑๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๘ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๗ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๗ ในอินทริยปัจจัย มี " ๗ ในฌานปัจจัย มี " ๗ ในมัคคปัจจัย มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๑๓ ในนัตถิปัจจัย มี " ๗ ในวิคตปัจจัย มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๓พึงนับอย่างนี้ อนุโลม จบ [๗๕๐] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย [๗๕๑] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย โดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยกัมมปัจจัย [๗๕๒] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยสหชาตปัจจัย [๗๕๓] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย [๗๕๔] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย [๗๕๕] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๗๕๖] ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม และ เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยสหชาตปัจจัย [๗๕๗] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว- *นายปหาตัพพธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย โดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยกัมมปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอินทริยปัจจัย [๗๕๘] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย โดยปุเรชาต- *ปัจจัย [๗๕๙] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพ- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย โดยปุเรชาตปัจจัย [๗๖๐] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็น ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต [๗๖๑] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ [๗๖๒] ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็น ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต [๗๖๓] ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ [๗๖๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สหชาตปัจจัย มี " ๑๐ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๑๐ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย มี " ๑๐ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๑๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มีวาระ ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๑๐ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๘ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๘ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๘พึงนับอย่างนี้ ปัจจนียะ จบ [๗๖๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗พึงนับอย่างนี้ อนุโลมปัจจนียะ จบ [๗๖๖] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๘ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๘ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๓พึงนับอย่างนี้ ปัจจนียานุโลม จบ ทัสสนัตติกะ ที่ ๘ จบ ----------------------------------------------------- เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ บรรทัดที่ ๔๙๙๕-๕๗๐๗ หน้าที่ ๒๑๓-๒๔๒. https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=41&A=4995&Z=5707&pagebreak=0 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7], [8], [9] อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/attha/m_siri.php?B=41&siri=13 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=662 ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- [662-766] https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=41&item=662&items=105 The Pali Tipitaka in Roman :- [662-766] https://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=41&item=662&items=105 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ https://84000.org/tipitaka/read/?index_41
บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]