โลกิยทุกะ
ปฏิจจวาร
[๒๙๐] โลกิยธรรม อาศัยโลกิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกิยธรรม
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป
อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย
โลกุตตรธรรม อาศัยโลกุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตรธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ
โลกิยธรรม อาศัยโลกุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม
โลกิยธรรม และโลกุตตรธรรม อาศัยโลกุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตรธรรม
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
โลกิยธรรม อาศัยโลกิยธรรม และโลกุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม และมหา-
*ภูตรูปทั้งหลาย
ฯลฯ
[๒๙๑] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๕
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๒
ในอธิปติปัจจัย มี " ๕
ในอนันตรปัจจัย มี " ๒
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๒
ในสหชาตปัจจัย มี " ๕
ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๒
ในนิสสยปัจจัย มี " ๕
ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๒
ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๒
ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒
ในกัมมปัจจัย มี " ๕
ในวิปากปัจจัย มี " ๕
ในอาหารปัจจัย มี " ๕
ในอินทริยปัจจัย มี " ๕
ในฌานปัจจัย มี " ๕
ในมัคคปัจจัย มี " ๕
ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๒
ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕
ในอัตถิปัจจัย มี " ๒
ในนัตถิปัจจัย มี " ๒
ในวิคตปัจจัย มี " ๒
ในอวิคตปัจจัย มี " ๕
อนุโลม จบ
[๒๙๒] โลกิยธรรม อาศัยโลกิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกิยธรรม
ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ โมหะ
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
ฯลฯ
[๒๙๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๒
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๔
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๕
ในอาเสวนมูลกนัย ในโลกุตตระ ในสุทธกอรูปภูมิ พึงกำหนดคำว่า
วิบาก ส่วนที่เหลือนอกนั้น พึงกระทำตามปรกติ
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๒
ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓
ปัจจนียะ จบ
[๒๙๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒
บทที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย เป็นต้น เหมือนกับปัจจนียะ
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖
ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๒๙๕] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑
ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
ปัจจนียานุโลม จบ
สหชาตวาร เหมือนกับปฏิจจวาร
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๒ บรรทัดที่ ๔๙๕๙-๕๐๔๖ หน้าที่ ๒๐๓-๒๐๖.
http://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=42&A=4959&Z=5046&pagebreak=0
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/m_siri.php?B=42&siri=30
ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=290
ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :-
[290-295] http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=42&item=290&items=6
อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12782
The Pali Tipitaka in Roman :-
[290-295] http://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=42&item=290&items=6
The Pali Atthakatha in Roman :-
http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12782
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒
http://84000.org/tipitaka/read/?index_42
บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]