ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
ปัจจนียะ นเหตุปัจจัย
[๘๖] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ นเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็น อัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ที่เป็นอเหตุกะ๑- ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหา- ภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น... ที่เป็นภายนอก... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหา- ภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัย มหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัย
[๘๗] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณ- ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น (๑) @เชิงอรรถ : @ ได้แก่ อุเปกขาสันตีรณจิต ๒ ขณะทำหน้าที่ปฏิสนธิของทุคคติอเหตุกบุคคลและสุคติอเหตุกบุคคลใน @กามภูมิ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๔๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็น อัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบาก เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็น ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่า อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลและ มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลและ มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นอธิปติปัจจัย
[๘๘] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะนอธิปติ- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะนอธิปติ- ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๔๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะนอธิปติ- ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ นอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากต- วิบาก และที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหา- ภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัย มหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็น สมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลและอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลและ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๔๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอนันตรปัจจัยและนสมนันตรปัจจัย
[๘๙] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ นอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น (นอนันตรปัจจัยและนสมนันตรปัจจัยเหมือนกับนอารัมมณปัจจัย)
นอัญญมัญญปัจจัย
[๙๐] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ นอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ นอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ นอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่ เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัพยากต- วิบากเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิด ขึ้น อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปที่เป็นภายนอกเกิดขึ้น อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูป ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน เกิดขึ้น สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหา- ภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะนอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลและ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะนอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลและ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๔๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอุปนิสสยปัจจัย
[๙๑] ภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ นอุปนิสสยปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (นอุปนิสสย- ปัจจัยเหมือนกับนอารัมมณปัจจัย)
นปุเรชาตปัจจัย
[๙๒] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะนปุเร- ชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาต- ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัย ขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาต- ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็น อัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัย หทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๔๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

จิตตสมุฏฐานรูป๑- และกฏัตตารูป๒- ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่ เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่า อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น กฏัตตารูปที่ เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลและ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลและ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นปัจฉาชาตปัจจัยและนอาเสวนปัจจัย
[๙๓] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะนปัจฉา- ชาตปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ฯลฯ (นปัจฉาชาตปัจจัยและนอาเสวนปัจจัย เหมือนกับนอธิปติปัจจัย)
นกัมมปัจจัย
[๙๔] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะนกัมม- ปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นกุศลอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอกุศลอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น (๑) @เชิงอรรถ : @ ในที่นี้ได้แก่ จิตตชรูป ๑๓ @ ในที่นี้ได้แก่ กัมมชรูป ๑๖ ที่เกิดพร้อมกับอุปาทขณะของปฏิสนธิวิญญาณ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๕๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัพยากตกิริยาอาศัยขันธ์ที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหา- ภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นวิปากปัจจัย
[๙๕] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะนวิปาก- ปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ นวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากต- กิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิด ขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็น ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่า อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลและ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลและ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๕๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอาหารปัจจัย
[๙๖] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับ เหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นอินทรียปัจจัย
[๙๗] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิด ขึ้นเพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น ฯลฯ อุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม รูปชีวิตินทรีย์อาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น
นฌานปัจจัย
[๙๘] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณเกิด ขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ... ที่เป็น ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่า อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นมัคคปัจจัย
[๙๙] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ ซึ่งเป็นอัพยากตวิบากและอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ใน {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๕๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากต- วิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นสัมปยุตตปัจจัย
[๑๐๐] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ นสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (ปัจจัยนี้ เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย)
นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๐๑] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะนวิปป- ยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตต- ปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากต- วิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็น สมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๕๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

โนนัตถิปัจจัยและโนวิคตปัจจัย
[๑๐๒] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ โนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น (สองปัจจัยนี้เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
คณนมูลกนัย
[๑๐๓] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๕๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นเหตุทุกนัย
[๑๐๔] นอารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๒ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ติกนัย
[๑๐๕] นอธิปติปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๕๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอุปนิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอาหารปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
วีสกนัย
[๑๐๖] โนวิคตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย นอุปนิสสยปัจจัย นปุเร- ชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย นวิปากปัจจัย นอาหารปัจจัย นอินทรียปัจจัย นฌานปัจจัย นมัคคปัจจัย นสัมปยุตตปัจจัย นวิปปยุตตปัจจัย และโนนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
นเหตุมูลกนัย จบ
นอารัมมณทุกนัย
[๑๐๗] นเหตุปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๕๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นสมนันตรปัจจัย กับนอารัมมมณปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๕ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ ฯลฯ
จตุกกนัย
[๑๐๘] นอนันตรปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
นอธิปติทุกนัย
[๑๐๙] นเหตุปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ นอารัมมณปัจจัย ” มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๕๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอนันตรปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
ติกนัย
[๑๑๐] นอารัมมณปัจจัย กับนอธิปติปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๕๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นกัมมปัจจัย กับนอธิปติปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอาหารปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ
จตุกกนัย
[๑๑๑] นอนันตรปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๑๒] ... กับนอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย และ นอุปนิสสยปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย)
นปุเรชาตทุกนัย
[๑๑๓] นเหตุปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ นอารัมมณปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๕๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอนันตรปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๗ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
ติกนัย
[๑๑๔] นอารัมมณปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัย และนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นวิปากปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นอาหารปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ
จตุกกนัย
[๑๑๕] นอธิปติปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัย นเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ นอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
นปัจฉาชาตะและนอาเสวนทุกนัย
[๑๑๖] นเหตุปัจจัย กับนปัจฉาชาตปัจจัยและนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ นอารัมมณปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย ” ” มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นกัมมปัจจัย กับนปัจฉาชาตปัจจัยและนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๙ วาระ นอาหารปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ
ติกนัย
[๑๑๗] นอารัมมณปัจจัย กับนอาเสวนปัจจัย และนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอาหารปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นวิปปยุตตปัจจัย กับนอาเสวนปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย " " มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย " " มี ๑ วาระ
จตุกกนัย
[๑๑๘] นอธิปติปัจจัย กับนอาเสวนปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ นอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
นกัมมทุกนัย
[๑๑๙] นเหตุปัจจัย กับนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นสัมปยุตตปัจจัย กับนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ติกนัย
[๑๒๐] นอารัมมณปัจจัย กับนกัมมปัจจัย และนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
นวิปากทุกนัย
[๑๒๑] นเหตุปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ นอารัมมณปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นสัมปยุตตปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
ติกนัย
[๑๒๒] นอารัมมณปัจจัย กับนวิปากปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอาหารปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ
จตุกกนัย
[๑๒๓] นอธิปติปัจจัย กับนวิปากปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
ทุกนัยมีนอาหารปัจจัยเป็นต้น
[๑๒๔] นเหตุปัจจัย กับนอาหารปัจจัย ฯลฯ นอินทรียปัจจัย ฯลฯ นฌานปัจจัย ฯลฯ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตทุกนัย
[๑๒๕] นเหตุปัจจัย กับนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย ” มี ๕ วาระ (ปัจจัยนี้เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย) โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตทุกนัย
[๑๒๖] นเหตุปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ นอารัมมณปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นวิปากปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ติกนัย
[๑๒๗] นอารัมมณปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอาหารปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

จตุกกนัย
[๑๒๘] นอธิปติปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ นอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
โนนัตถิและโนวิคตทุกนัย
[๑๒๙] นเหตุปัจจัย กับโนนัตถิปัจจัยและโนวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นอาหารปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร

ติกนัย
[๑๓๐] นอารัมมณปัจจัย กับโนวิคตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
ปัจจนียะ จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๔๕-๖๙. http://84000.org/tipitaka/english/m_siri.php?B=40&siri=28              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/english/v.php?B=40&A=930&Z=1498                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=87              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=87&items=46              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=10899              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=87&items=46              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=10899                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :