ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๒. สหชาตวาร

๑. กุสลติกะ ๒. สหชาตวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๒๓๔] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดพร้อมกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดพร้อมกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ขันธ์ ๑ เกิดพร้อมกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดพร้อมกับขันธ์ ๒ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดพร้อมกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับขันธ์ที่เป็นกุศล (๒) สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเกิดพร้อมกับสภาวธรรมที่เป็นกุศล เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับขันธ์ ๑ ที่เป็น กุศล ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ และจิตต- สมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับขันธ์ ๒ (๓) [๒๓๕] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดพร้อมกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเพราะเหตุ- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดพร้อมกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล ขันธ์ ๑ เกิดพร้อมกับ ขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดพร้อมกับขันธ์ ๒ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดพร้อมกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับขันธ์ที่เป็นอกุศล (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเกิดพร้อมกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศล เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับขันธ์ ๑ ที่เป็น อกุศล ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ และจิตต- สมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับขันธ์ ๒ (๓) [๒๓๖] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดพร้อมกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับขันธ์ ๑ ที่เป็น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๒๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๒. สหชาตวาร

อัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยา ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับ ขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปเกิดพร้อมกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูป เกิดพร้อมกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปเกิดพร้อมกับขันธ์ ๒ หทัยวัตถุ เกิดพร้อมกับขันธ์ ขันธ์เกิดพร้อมกับหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๓ เกิดพร้อมกับ มหาภูตรูป ๑ มหาภูตรูป ๑ เกิดพร้อมกับมหาภูตรูป ๓ มหาภูตรูป ๒ เกิด พร้อมกับมหาภูตรูป ๒ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปเกิดพร้อม กับมหาภูตรูป (๑) [๒๓๗] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดพร้อมกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลและ ที่เป็นอัพยากฤตเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับขันธ์ที่เป็น กุศลและมหาภูตรูป (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดพร้อมกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็น อัพยากฤตเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับขันธ์ที่เป็นอกุศล และมหาภูตรูป (๑) (พึงขยายให้พิสดารเหมือนในปฏิจจวาร)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
[๒๓๘] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๒๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๒. สหชาตวาร

ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อนุโลม จบ
(พึงนับวาระเหมือนการนับในปฏิจจวาร)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๒๓๙] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดพร้อมกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเพราะ นเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดพร้อม กับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดพร้อมกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ ซึ่งเป็นอัพยากตวิบากและอัพยากตกิริยา ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๒๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๒. สหชาตวาร

ขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปเกิดพร้อมกับขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น อเหตุกะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปเกิดพร้อมกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูป เกิดพร้อมกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปเกิดพร้อมกับขันธ์ ๒ หทัยวัตถุเกิดพร้อมกับขันธ์ ขันธ์เกิดพร้อมกับหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๓ เกิดพร้อม กับมหาภูตรูป ๑ มหาภูตรูป ๑ เกิดพร้อมกับมหาภูตรูป ๓ มหาภูตรูป ๒ เกิด พร้อมกับมหาภูตรูป ๒ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปเกิดพร้อม กับมหาภูตรูป ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ เกิดพร้อมกับมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปเกิดพร้อมกับมหาภูตรูป (พึงขยายให้พิสดารเหมือนในปฏิจจวาร)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
[๒๔๐] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๒๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๒. สหชาตวาร

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
[๒๔๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อนุโลมปัจจนียะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๒๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๒. สหชาตวาร

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[๒๔๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ วิปากปัจจัย ” มี วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๒ วาระ มัคคปัจจัย ” มี วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ปัจจนียานุโลม จบ
สหชาตวาร จบ
(ที่เป็นปฏิจจวาร ได้แก่ สหชาตวาร ที่เป็นสหชาตวาร ได้แก่ ปฏิจจวาร)
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๓๐}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๑๒๕-๑๓๐. http://84000.org/tipitaka/english/m_siri.php?B=40&siri=31              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/english/v.php?B=40&A=2810&Z=2946                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=236              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=236&items=10              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=11050              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=236&items=10              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=11050                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :