ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
๕๕. สารัมมณทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) [๑๔] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้ทำหทัยวัตถุให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิ- ขณะ ฯลฯ (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๕๕. สารัมมณทุกะ ๓. ปัจจยวาร

[๑๕] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้ อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่รับรู้อารมณ์ได้และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ ได้และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่รับรู้อารมณ์ได้และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๑๖] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่รับรู้อารมณ์ได้ให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้ทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคต ด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่ สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่รับรู้อารมณ์ได้และทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ย่อ) (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๕๕. สารัมมณทุกะ ๓. ปัจจยวาร

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๑๗] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๕๕. สารัมมณทุกะ ๓. ปัจจยวาร

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญ- สัตตพรหม ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์ ได้ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์ได้ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓) [๑๙] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้ อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่ง รับรู้อารมณ์ได้ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย อุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๕๕. สารัมมณทุกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์ได้ และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิ- ขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์ได้และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์ได้และทำมหาภูตรูป ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุ ซึ่งรับรู้อารมณ์ได้และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปทำขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์ได้และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (ย่อ) (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๒๐] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๕๕. สารัมมณทุกะ ๓. ปัจจยวาร

นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๔ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
[๒๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (ย่อ)
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[๒๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๑๒}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๓ หน้าที่ ๗-๑๒. http://84000.org/tipitaka/english/m_siri.php?B=43&siri=2              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/english/v.php?B=43&A=134&Z=246                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=0              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=43&item=9&items=7              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=43&item=9&items=7                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu43



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :