บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
ปัญหาปุจฉกะ [๕๐๒] สัมมัปปธาน ๔ คือ ๑. ภิกษุในศาสนานี้ ทำฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิตไว้ ทำความเพียร เพื่อป้องกันบาปอกุศลธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นมิให้เกิดขึ้น ๒. ทำฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิตไว้ ทำความเพียร เพื่อละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ๓. ทำฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิตไว้ ทำความเพียร เพื่อสร้างกุศลธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้น ๔. ทำฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิตไว้ ทำความเพียร เพื่อความดำรงอยู่ ความไม่สาบสูญ ความภิยโยยิ่ง ความไพบูลย์ ความเจริญ ความบริบูรณ์ แห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วติกมาติกาปุจฉา ทุกมาติกาปุจฉา บรรดาสัมมัปปธาน ๔ สัมมัปปธานไหน เป็นกุศล สัมมัปปธานไหน เป็นอกุศล สัมมัปปธานไหน เป็นอัพยากฤต ฯลฯ สัมมัปปธานไหน เป็นสรณะ สัมมัปปธานไหน เป็นอรณะติกมาติกาวิสัชนา [๕๐๓] สัมมัปปธาน ๔ เป็นกุศลอย่างเดียว สัมมัปปธาน ๔ เป็น สุขเวทนาสัมปยุตก็มี เป็นอทุกขมสุขเวทนาสัมปยุตก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็น วิปากธัมมธรรม สัมมัปปธาน ๔ เป็นอนุปาทินนานุปาทานิยะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอสังกิลิฏฐาสังกิเลสิกะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นสวิตักกสวิจาระก็มี เป็น อวิตักกวิจารมัตตะก็มี เป็นอวิตักกาวิจาระก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นปีติสหคตะ ก็มี เป็นสุขสหคตะก็มี เป็นอุเปกขาสหคตะก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นเนว- *ทัสสนนภาวนาปหาตัพพะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพ- *เหตุกะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอปจยคามี สัมมัปปธาน ๔ เป็นเสกขะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอัปปมาณะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอัปปมาณารัมมณะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นปณีตะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นสัมมัตตนิยตะ สัมมัปปธาน ๔ ไม่เป็นมัคคารัมมณะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นมัคคเหตุกะ สัมมัปปธาน ๔ เป็น มัคคาธิปติก็มี กล่าวไม่ได้ว่า เป็นมัคคาธิปติก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นอุปปันนะ ก็มี เป็นอนุปปันนะก็มี กล่าวไม่ได้ว่า เป็นอุปปาที สัมมัปปธาน ๔ เป็นอดีต ก็มี เป็นอนาคตก็มี เป็นปัจจุบันก็มี กล่าวไม่ได้ว่า แม้เป็นอตีตารัมมณะ แม้ เป็นอนาคตารัมมณะ แม้เป็นปัจจุปปันนารัมมณะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอัชฌัตตะ ก็มี เป็นพหิทธาก็มี เป็นอัชฌัตตพหิทธาก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นพหิทธา- *รัมมณะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆะทุกมาติกาวิสัชนา ๑. เหตุโคจฉกวิสัชนา [๕๐๔] สัมมัปปธาน ๔ เป็นนเหตุ สัมมัปปธาน ๔ เป็นสเหตุกะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นเหตุสัมปยุต กล่าวไม่ได้ว่า เป็นเหตุสเหตุกะ เป็นแต่ สเหตุกนเหตุ กล่าวไม่ได้ว่า เป็นเหตุเหตุสัมปยุต เป็นแต่เหตุสัมปยุตตนเหตุ และนเหตุสเหตุกะ๒. จูฬันตรทุกวิสัชนา สัมมัปปธาน ๔ เป็นสัปปัจจยะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นสังขตะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอนิทัสสนะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอัปปฏิฆะ สัมมัปป- *ธาน ๔ เป็นอรูป สัมมัปปธาน ๔ เป็นโลกุตตระ สัมมัปปธาน ๔ เป็น เกนจิวิญเญยยะ เป็นเกนจินวิญเญยยะ๓. อาสวโคจฉกวิสัชนา สัมมัปปธาน ๔ เป็นโนอาสวะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอนาสวะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอาสววิปปยุต กล่าวไม่ได้ว่า แม้เป็นอาสวสาสวะ แม้เป็น สาสวโนอาสวะ สัมมัปปธาน ๔ กล่าวไม่ได้ว่า แม้เป็นอาสวอาสวสัมปยุต แม้เป็นอาสวสัมปยุตตโนอาสวะ เป็นแต่อาสววิปปยุตตอนาสวะ๔,๕,๖,๗,๘,๙,๑๐. สัญโญชนโคจฉกาทิวิสัชนา สัมมัปปธาน ๔ เป็นโนสัญโญชนะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็น โนคันถะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็นโนโอฆะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็น โนโยคะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็นโนนีวรณะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็น โนปรามาสะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็นสารัมมณะ สัมมัปปธาน ๔ เป็น โนจิตตะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นเจตสิกะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นจิตตสัมปยุต สัมมัปปธาน ๔ เป็นจิตตสังสัฏฐะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นจิตตสมุฏฐานะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นจิตตสหภู สัมมัปปธาน ๔ เป็นจิตตานุปริวัตติ สัมมัปป- *ธาน ๔ เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏ- *ฐานสหภู สัมมัปปธาน ๔ เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติ สัมมัปปธาน ๔ เป็นพาหิระ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอุปาทา สัมมัปปธาน ๔ เป็นอนุปาทินนะ๑๑, ๑๒, ๑๓. อุปาทานโคจฉกาทิวิสัชนา สัมมัปปธาน ๔ เป็นนอุปาทานะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็น โนกิเลสะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็นนทัสสนปหาตัพพะ สัมมัปปธาน ๔ เป็น นภาวนาปหาตัพพะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นนทัสสนปหาตัพพเหตุกะ สัมมัปป- *ธาน ๔ เป็นนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นสวิตักกะก็มี เป็น อวิตักกะก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นสวิจาระก็มี เป็นอวิจาระก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นสัปปีติกะก็มี เป็นอัปปีติกะก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นปีติสหคตะก็มี เป็น นปีติสหคตะก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นสุขสหคตะก็มี เป็นนสุขสหคตะก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นอุเปกขาสหคตะก็มี เป็นนอุเปกขาสหคตะก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นนกามาวจร สัมมัปปธาน ๔ เป็นนรูปาวจร สัมมัปปธาน ๔ เป็น นอรูปาวจร สัมมัปปธาน ๔ เป็นอปริยาปันนะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นนิยยานิกะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นนิยตะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอนุตตระ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอรณะ ฉะนี้แลปัญหาปุจฉกะ จบ สัมมัปปธานวิภังค์ จบบริบูรณ์ เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ บรรทัดที่ ๖๗๓๕-๖๘๐๙ หน้าที่ ๒๙๐-๒๙๓. https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=35&A=6735&Z=6809&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/r.php?B=35&A=6735&pagebreak=0 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง] อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=35&siri=33 ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=35&i=502 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=35&A=5855 อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=54&A=7700 The Pali Tipitaka in Roman :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=35&A=5855 The Pali Atthakatha in Roman :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=54&A=7700 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๕ https://84000.org/tipitaka/read/?index_35 อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/vb8/en/thittila#pts-s427
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]