ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๘ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน
ปัญหาวาร
[๑๔๑๘] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๔๑๙] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยเหตุปัจจัย มี ๓ นัย พึงกระทำ ปวัตติ ปฏิสนธิ [๑๔๒๐] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยเหตุปัจจัย มี ๓ นัย [๑๔๒๑] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้น พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน พระอริยะทั้งหลายพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน พิจารณากิเลสที่ละแล้ว พิจารณา กิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม โดยความ เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะ เกิดขึ้น โทมนัส เกิดขึ้น รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๔๒๒] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปริตตธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๔๒๓] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เป็น ปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นมหัคคตธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๔๒๔] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาปฐมฌาน พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ พิจารณาทิพพจักขุ ทิพพโสตธาตุ ฯลฯ พิจารณาอิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมุปคญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๑๔๒๕] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล โดยอารัมมณปัจจัย [๑๔๒๖] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๔๒๗] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลายรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอัปปมาณธรรม โดย เจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสา- *นุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๔๒๘] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา บุคคลกระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้ว พิจารณา พระเสขบุคคลทั้งหลายกระทำโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำโวทาน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๔๒๙] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๔๓๐] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำปฐมฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ ทิพพจักขุ ฯลฯ กระทำอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อม ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๔๓๑] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม โดยอธิปติ- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๔๓๒] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล โดยอธิปติปัจจัย ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๔๓๓] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตะรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำ นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน โดยอธิปติปัจจัย ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๔๓๔] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม โดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๔๓๕] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิด หลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๔๓๖] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ จุติจิตที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นมหัคคตธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคตธรรม แก่อนาค- *ตังสญาณ โดยอนันตรปัจจัย บริกรรมแห่งปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญาย- *ตนะ ฯลฯ บริกรรมแห่งทิพพจักขุ ฯลฯ บริกรรมแห่งอนาคตังสญาณ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ โดยอนันตรปัจจัย [๑๔๓๗] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผล สมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย [๑๔๓๘] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น มหัคคตธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย [๑๔๓๙] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ จุติจิตที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นปริตตธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย ภวังค์ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตธรรม โดยอนันตร ปัจจัย [๑๔๔๐] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ โดยอนันตรปัจจัย [๑๔๔๑] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ฯลฯ ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็นปัจจัยแก่ผล โดยอนันตรปัจจัย [๑๔๔๒] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๔๔๓] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคตธรรม โดยอนันตรปัจจัย สมนันตรปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย [๑๔๔๔] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๑๔๔๕] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ คือ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม โดย สหชาตปัจจัย [๑๔๔๖] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิ- *ขณะ ฯลฯ [๑๔๔๗] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดย สหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย [๑๔๔๘] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๔๔๙] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย [๑๔๕๐] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดย สหชาตปัจจัย [๑๔๕๑] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย [๑๔๕๒] ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย [๑๔๕๓] ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย [๑๔๕๔] ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดย สหชาตปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย [๑๔๕๕] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลาย โดยอัญญมัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๑๔๕๖] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอัญญมัญญปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม โดย อัญญมัญญปัจจัย [๑๔๕๗] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๔๕๘] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยอัญญมัญญปัจจัย [๑๔๕๙] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม ฯลฯ คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุ โดยอัญญมัญญปัจจัย [๑๔๖๐] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๔๖๑] ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดย อัญญมัญญปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย [๑๔๖๒] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลาย โดยนิสสยปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม โดยนิสสยปัจจัย [๑๔๖๓] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ คือ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม โดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นมหัคคตธรรม โดยนิสสยปัจจัย [๑๔๖๔] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ คือ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม โดยนิสสยปัจจัย [๑๔๖๕] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิ- *ขณะ ฯลฯ [๑๔๖๖] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดย นิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยนิสสยปัจจัย [๑๔๖๗] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๔๖๘] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย [๑๔๖๙] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดย นิสสยปัจจัย [๑๔๗๐] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยนิสสยปัจจัย [๑๔๗๑] ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยนิสสยปัจจัย [๑๔๗๒] ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ที่ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสย- *ปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๔๗๓] ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยนิสสยปัจจัย [๑๔๗๔] ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสย- *ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๔๗๕] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปริตตธรรมแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทาง กาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา แก่สุข ทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย กุศลอกุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก โดยอุปนิสสยปัจจัย ปาณาติบาตเป็นปัจจัยแก่ ปาณาติบาต โดยอุปนิสสยปัจจัย
พึงกระทำจักรนัย
มาตุฆาตกรรม เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
พึงกระทำจักรนัย เหมือนกับ กุสลัตติกะ
[๑๔๗๖] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นปริตตธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็นมหัคคตธรรม ให้เกิดขึ้น อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ยังฌานที่เป็นมหัคคตธรรม ให้เกิดขึ้น อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรม แก่ ปัญญา โดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมแห่งปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ โดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมแห่งทิพพจักขุ เป็นปัจจัย แก่อนาคตตังสญาณ ฯลฯ [๑๔๗๗] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปริตตธรรมแล้ว ยัง ฌานที่เป็นอัปปมาณธรรมให้เกิดขึ้น มรรค ฯลฯ ยังผลสมาบัติให้เกิดขึ้น บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทาง กาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณธรรมให้เกิดขึ้น มรรค ฯลฯ ยังผลสมาบัติให้ เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม แก่ปัญญา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค บริกรรมแห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัย แก่จตุตถมรรค โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๔๗๘] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปสนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรมแล้วยัง ฌานที่เป็นมหัคคตธรรมให้เกิดขึ้น อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น บุคคลเข้าไปศัยศีลที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญาแล้ว ยังฌานที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรม แก่ ปัญญา โดยอุปนิสสยปัจจัย ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานา- *สัญญายตนะ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๔๗๙] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรมแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังวิปัสสนา ให้เกิดขึ้น ฯลฯ ศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม แก่ ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๔๘๐] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณธรรมให้เกิดขึ้น มรรค ฯลฯ ยังผลสมาบัติให้เกิดขึ้น บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญาแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ มรรค ฯลฯ ยังผลสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม แก่ ปัญญา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๔๘๑] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณธรรมให้เกิดขึ้น มรรค ฯลฯ ยังผลสมบัติให้เกิดขึ้น บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญาแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ มรรค ฯลฯ ยังผลสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม แก่ปัญญา โดยอุปนิสสยปัจจัย ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค [๑๔๘๒] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย ผลสมาบัติ เป็นปัจจัยแก่สุข ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย พระอริยะทั้งหลายเข้าไปอาศัยมรรคแล้ว พิจารณาเห็นสังขารโดยความเป็นของไม่ เที่ยง ฯลฯ มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา แก่ธัมมปฏิสัมภิทา แก่นิรุตติปฏิสัมภิทา แก่ ปฏิภาณปฏิสัมภิทา แก่ฐานาฐานโกสัลละของพระอริยะทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๔๘๓] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม ฌานที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญา ฌานที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรม แก่ปัญญา โดยอุปนิสสยปัจจัย พระอริยะทั้งหลายเข้าไปอาศัยมรรคแล้ว ยังสมาบัติที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติ ที่เกิดขึ้นแล้ว [๑๔๘๔] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น โสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๑๔๘๕] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพ- *โสตธาตุ ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นมหัคคต- *ธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๑๔๘๖] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย คือ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๑๔๘๗] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๔๘๘] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๔๘๙] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๔๙๐] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิด หลังๆ อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โดยอาเสวนปัจจัย [๑๔๙๑] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน โดยอาเสวนปัจจัย บริกรรมแห่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้นเอง โดยอาเสวนปัจจัย บริกรรมแห่งทิพพจักขุ ฯลฯ บริกรรมแห่งอนาคตังสญาณ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ โดย อาเสวนปัจจัย [๑๔๙๒] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอาเสวนปัจจัย [๑๔๙๓] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิด หลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย [๑๔๙๔] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นปริตต- *ธรรมซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๔๙๕] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๑๔๙๖] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดย กัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๔๙๗] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม โดยกัมม- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตา- *รูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น มหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๔๙๘] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ เป็นอัปปมาณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๑๔๙๙] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๕๐๐] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม โดย กัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๕๐๑] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน- *รูปทั้งหลาย โดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปากปัจจัย [๑๕๐๒] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยวิปากปัจจัย มีหัวข้อ ปัจจัย ๓ พึงกระทำ ปวัตติ ปฏิสนธิ [๑๕๐๓] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยวิปากปัจจัย มี ๓ นัย พึงกระทำ ปวัตติ อย่างเดียว [๑๕๐๔] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัย โดย อินทริยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดย มัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดย วิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดย วิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยวิปปยุตตปัจจัย กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นปริตตธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๕๐๕] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น มหัคคตธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๕๐๖] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัปปมาณ- *ธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๕๐๗] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- *รูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๕๐๘] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- *รูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๕๐๙] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่จักขุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นหทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่ เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะ เกิดขึ้น โทมนัส เกิดขึ้น รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์ เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย [๑๕๑๐] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น มหัคคตธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๕๑๑] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณ- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๕๑๒] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิ ขณะ ฯลฯ [๑๕๑๓] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อน โดยอัตถิปัจจัย [๑๕๑๔] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๕๑๕] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ [๑๕๑๖] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อน โดยอัตถิปัจจัย [๑๕๑๗] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม โดย อัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย [๑๕๑๘] ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอัตถิ- *ปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม และกวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย [๑๕๑๙] ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดย อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๕๒๐] ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอัตถิ- *ปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม และกวฬิงการาหาร เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย [๑๕๒๑] ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอัตถิ- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย [๑๕๒๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๗ ในอธิปติปัจจัย มี " ๗ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย มีวาระ ๑๑ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๗ ในนิสสยปัจจัย มี " ๑๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๔ ในกัมมปัจจัย มี " ๗ ในวิปากปัจจัย ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย มีวาระ ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๑๓ ในนัตถิปัจจัย มี " ๙ ในวิคตปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๓
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๑๕๒๓] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย [๑๕๒๔] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย [๑๕๒๕] ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย [๑๕๒๖] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๕๒๗] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๑๕๒๘] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๕๒๙] มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม โดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๑๕๓๐] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๕๓๑] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย [๑๕๓๒] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๕๓๓] อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม โดย สหชาตปัจจัย [๑๕๓๔] ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย [๑๕๓๕] ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต [๑๕๓๖] ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย [๑๕๓๗] ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต [๑๕๓๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๑๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มีวาระ ๑๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สหชาตปัจจัย มี " ๑๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๑๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย มี " ๑๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๑๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มีวาระ ๑๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๑๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๑๐ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๑๐ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๑๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๑๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๑๐
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๕๓๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๕๔๐] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๑ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ฯลฯ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓๑
ปัจจนียานุโลม จบ
ปริตตัตติกะที่ ๑๒ จบ
-----------------------------------------------------

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ บรรทัดที่ ๑๐๓๔๓-๑๐๙๙๗ หน้าที่ ๔๔๐-๔๖๗. https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=41&A=10343&Z=10997&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/r.php?B=41&A=10343&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7], [8], [9]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=29              ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1418              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=41&A=8339              The Pali Tipitaka in Roman :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=41&A=8339              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ https://84000.org/tipitaka/read/?index_41

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]